1. Awareness Training การฝึกอบรมสำหรับบุคลากรเพื่อเตรียมพร้อมความรู้ความเข้าใจด้านความมั่นคงปลอดภัยในการใช้ทรัพยากรสารสนเทศภายในองค์กรที่มีส่วนช่วยให้สามารถลดโอกาสที่จะถูกโจมตีทางไซเบอร์ในรูปแบบต่างๆ ได้มากขึ้น
3. Authorization control การกําหนดสิทธิการเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลสารสนเทศให้เป็นไปตามความจําเป็น และสอดคล้องกับความต้องการพื้นฐานตามที่ได้รับอนุญาต
1. Management system and policies การจัดการความปลอดภัยทางไซเบอร์และกำหนดนโยบายนั้นเป็นหลักการสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทุกองค์กรควรเข้าใจเพื่อใช้ในการปกป้องและรับมือกับภัยคุกคามทางไซเบอร์
3. Frameworks by leading security standard หลักการและแนวทางการปฏิบัติล้วนเป็นสิ่งจำเป็นที่ทุกองค์กรต้องตระหนักถึงเพื่อช่วยป้องกันความเสียหายที่เกิดจากการโจมตีทางไซเบอร์ อาทิ เช่น
3.1 มาตรฐาน ISO 27001 มาตรฐานสากลสำหรับระบบการจัดการความปลอดภัยของข้อมูล ผ่านการประเมินความเสี่ยง การออกแบบด้านการรักษาความปลอดภัยและการนำไปปฏิบัติ โดยระบุแนวทางการดำเนินงานและการบริหารจัดการไว้อย่างชัดเจน
4. Third party management องค์กรสามารถนำกรอบการบริหารจัดการบุคคลภายนอกมาปรับใช้ในการกำหนดนโยบายการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศเพื่อควบคุมและป้องกันความเสี่ยงจากการก่ออาชญากรรมทางไซเบอร์
5.1 VA scan การประเมินช่องโหว่และประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยภายในองค์กรในเชิงลึกเพื่อระบุถึงปัญหา พร้อมทั้งให้แนวทางแก้ไขเพื่อช่วยลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้น
8. Data security and protection การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลและลดความสุ่มเสี่ยงด้านความปลอดภัยของข้อมูล อาทิ เช่น การป้องกันการรั่วไหลของการเผยแพร่ข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาต เป็นต้น
———————————————————————————————————————————————-
ที่มา : moneyandbanking / วันที่เผยแพร่ 11 ก.ค.66
Link : https://moneyandbanking.co.th/2023/49073/