ปักหมุด “รอมฎอนสันติสุข” ประเดิมงานแรกคณะพูดคุยดับไฟใต้ชุดใหม่

Loading

หัวหน้าคณะพูดคุยฯคนใหม่ “ฉัตรชัย บางชวด” พบปะแนะนำตัวกับ “ผู้อำนวยการสะดวกมาเลเซีย” ประเดิมหลังรับตำแหน่ง พร้อมเชิญ “ซุลกิฟลี” เยือนไทย ทำความรู้จักคณะพูดคุยชุดใหม่ถอดด้าม ตั้งเป้ายุติเหตุรุนแรง “รอมฎอนสันติสุข” พร้อมเปิดเวทีพูดคุยกับผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มภายในประเทศ

ยอดโหลดทะลุล้านครั้ง เตือน 10 แอปอันตราย บน Android ห้ามโหลดเด็ดขาด

Loading

เมื่อไม่นานมานี้ โลกออนไลน์ได้มีการแชร์โพสต์ของผู้ใช้เพจเฟซบุ๊ก ตำรวจสอบสวนกลาง ระบุว่า รวมแอปฝังมัลแวร์ บน Andriod ยอดโหลดทะลุล้านครั้ง ขณะนี้ตรวจพบแอปที่มีมัลแวร์ดักข้อมูลแฝงอยู่ ซึ่งบางแอปถูกถอด Playstore แล้ว แต่ยังสามารถติดตั้งผ่านช่องทางแอปพลิเคชันอื่นได้อยู่ และบางแอปจะอยู่ในรูปแบบ Mini- Game ที่ให้ผู้ใช้เข้ามาเล่นเพื่อรับรางวัล

จีนเปิดรับฟังความเห็นต่อข้อบังคับรายงานเหตุ ‘ความมั่นคงทางไซเบอร์’

Loading

วันศุกร์ (8 ธ.ค.) หน่วยกำกับดูแลไซเบอร์สเปซแห่งประเทศจีน ได้เผยแพร่ร่างข้อบังคับเกี่ยวกับการบริหารจัดการการรายงานเหตุความมั่นคงทางไซเบอร์ ร่างข้อบังคับดังกล่าวมุ่งบรรเทาความเสียหายและอันตรายอันเกิดจากเหตุความมั่นคงทางไซเบอร์ และเริ่มเปิดรับฟังความคิดเห็นต่อร่างข้อบังคับนี้จากสาธารณชน

สภากลาโหม เคาะเพิ่ม 3 โรคไม่ต้องเกณฑ์ทหาร

Loading

ที่ประชุมสภากลาโหมเห็นชอบ ร่างพ.ร.บ.ออกตามความ ร่าง พ.ร.บ.การรับราชการทหาร พ.ศ.2497 โดยมีการแก้ไขเพิ่มเติม 3 กลุ่มโรค จากเดิม 12 เป็น 15 คือ โรคตุ่มน้ำพอง โรคลำไส้พองแต่กำเนิด โรคเอนไซม์ เม็ดเลือดแดงผิดปกติ (G6PD) ซึ่งทำให้เกิดความไม่สมบูรณ์ของทหารกองเกิน ที่จะเข้าเป็นทหารกองประจำการ

10 อันดับประเทศที่มีแฮ็กเกอร์สุดอันตราย VS ความปลอดภัยไซเบอร์แน่นหนา

Loading

ปัจจุบันมีการรับรู้ถึงความเสี่ยงด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์เพิ่มมากขึ้นจำนวนมาก การแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่องทั่วโลกได้สร้างความไม่ไว้วางใจให้กับผู้คนและธุรกิจโดยเฉพาะในโลกออนไลน์ CYWARE SOCIAL ได้มีการรวบรวมประเทศ 10 อันดับแรกที่มีแฮ็กเกอร์หรืออาชญากรไซเบอร์ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการโจมตีทางไซเบอร์มากที่สุดในโลก

แนวทาง และความสำคัญต่อการรับมือภัยคุกคามทางไซเบอร์ในระดับองค์กร

Loading

  สถิติของโครงการประเมินความมั่นคงและปลอดภัยทางไซเบอร์ (Security Posture Assessment) ประจำปี พ.ศ. 2566 จาก สกมช. องค์กรที่เข้าร่วมมีจุดอ่อนด้านไหนบ้าง พร้อมทั้งความสำคัญ และแนวทางรับมือเพื่อลดความเสี่ยงจากภัยคุกคามทางไซเบอร์   ปัจจุบันมีหน่วยงานที่ร่วมโครงการการประเมินความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ในระดับองค์กร (Security Posture Assessment) ประจำปี 2566 กับ สกมช. (สำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ) ทั้งสิ้น จำนวน 17 หน่วยงาน   ทั้งหมดประกอบด้วย หน่วยงานโครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศ จำนวน 7 หน่วยงาน รวมทั้งหน่วยงานควบคุมกำกับหรือดูแล จำนวน 5 หน่วยงาน และหน่วยงานของรัฐ จำนวน 5 หน่วยงาน   การจัดตั้งโครงการฯ นี้ มีเป้าหมายเพื่อประเมินสุขภาพด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ของหน่วยงาน CII และ Regulators ทั้งหมดในโครงการเพื่อให้ทราบถึงช่องโหว่ จุดอ่อน และจุดแข็งขององค์กรทำให้สามารถนำไปต่อยอดออกแบบแผน หรือกลยุทธ์ในการรับมือต่อภัยคุกคามไซเบอร์ได้ ซึ่งการประเมินนี้เป็นไปตามมาตรฐานสากล คล้ายกับการตรวจสุขภาพประจำปีทางไซเบอร์ฯ ระบบสารสนเทศที่สำคัญขององค์กร…