4 พ.ย. 1995 ยิตซัก ราบิน อดีตนายกฯอิสราเอล เคยได้โนเบลสันติภาพ ถูกลอบสังหาร

Loading

ย้อนรำลึกถึงวันที่ 4 พ.ย. 1995 “ยิตซัก ราบิน” อดีตนายกฯอิสราเอล ที่เคยได้รางวัลโนเบลสันติภาพ ถูกลอบสังหาร และทำให้สันติภาพอิสราเอล-ปาเลสไตน์ ยังไม่เจอความสงบอย่างแท้จริงมาจนถึงทุกวันนี้ ในสถานการณ์ ณ ปี 2023 ที่ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับกลุ่มฮามาส ยังไม่มีทีท่าว่าจะจบลงง่าย ๆ

ดักบึ้มทหารพรานระแงะหลังจ่ายกับข้าว

Loading

เมื่อเวลา 08.40 น. วันที่ 3 พ.ย.66 พ.ต.อ.อาภากร วิรูปักษ์อารักษ์ ผกก.สภ.ระแงะ จ.นราธิวาส รับแจ้งมีเหตุคนร้ายจุดชนวนระเบิดเพื่อดักสังหารเจ้าหน้าที่ทหารพราน สังกัดกองร้อยทหารพรานที่ 4514 ( ร้อย ทพ.4514) กรมทหารพรานที่ 45 เหตุเกิดริมถนนสาย 4011 ช่วงบริเวณบ้านบูเก๊ะซามี ม.7 ต.ตันหยงมัส อ.ระแงะ จ.นราธิวาส

28 ประเทศ-อียู ร่วมลงนามใน “ปฏิญญาความปลอดภัยของเอไอ”

Loading

ประเทศต่าง ๆ ทั้งหมด 28 ประเทศ รวมถึงสหราชอาณาจักร, สหรัฐ, จีน และสหภาพยุโรป (อียู) ร่วมลงนามในปฏิญญาความปลอดภัยของปัญญาประดิษฐ์ (เอไอ) โดยเห็นพ้องถึง “ความจำเป็นในการดำเนินการระหว่างประเทศ” ระหว่างการประชุมสุดยอดเกี่ยวกับเอไอครั้งแรกของโลก ซึ่งมีผู้นำทางการเมืองและผู้นำด้านเทคโนโลยีเข้าร่วมเป็นจำนวนมาก

โคราช ประชุมเข้มแผนเผชิญเหตุฉุกเฉินเขื่อนลำตะคองรั่ว

Loading

เมื่อ 2 พ.ย.66 ที่ ศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพทับแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา นายชรินทร์ ทองสุข รอง ผวจ.นครราชสีมา เป็นประธานฯ จัดการประชุมรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ ครั้งที่ 2 โครงการจัดทำแผนปฏิบัติการกรณีฉุกเฉิน (EAP) เขื่อนลำตะคอง นครราชสีมา

เจรจาคืบหน้า “ปานปรีย์” มั่นใจตัวประกัน “คนไทย” ถูกปล่อยกลุ่มแรก

Loading

วันที่ 3 พ.ย.2566 นายปานปรีย์ พหิทธานุกร รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.ต่างประเทศ เปิดความคืบหน้าถึงการเจรจาช่วยเหลือคนไทยในอิสราเอล ว่า การหารือกับนายกรัฐมนตรีกาตาร์, อิหร่าน และอียิปต์ ซึ่งได้แสดงท่าทีพร้อมช่วยเหลือไทยอย่างเต็มที่ โดยกาตาร์เชื่อว่าคนไทยจะได้รับการปล่อยตัวเป็นกลุ่มแรก ๆ

ระเบิดฟองน้ำ’ ระเบิดเคมีชนิดฟองโฟม อาวุธลับของกองทัพอิสราเอล ใช้ปิดกั้นทางเข้า – ออกอุโมงค์ใต้ดินฉนวนกาซา สกัดเส้นทางกลุ่มฮามาส

Loading

กองทัพอิสราเอล (IDF) เตรียม ‘ระเบิดฟองน้ำ’ เป็นอาวุธปิดกั้นอุโมงค์ฉนวนกาซา ขณะที่กองกำลังภาคพื้นดินของอิสราเอลเริ่มเข้าสู่ฉนวนกาซา การวิเคราะห์จำนวนมากที่เผยแพร่นับตั้งแต่เริ่มต้นความขัดแย้ง ความท้าทายที่ใหญ่ที่สุดที่กองทัพอิสราเอลจะเผชิญในการรุกภาคพื้นดินในฉนวนกาซา คือ อุโมงค์ใต้ดินที่เรียกว่า ‘รถไฟใต้ดินของฉนวนกาซา’