บึ้มซ้ำอีก 2 จุดใกล้แคมป์ก่อสร้างเจ้าแม่กวนอิม – ยิงทหารพัฒนาสาหัส

Loading

ป่วนใต้ยังไม่สะเด็ดน้ำ บึ้มอีก 2 ลูกเส้นทางเข้าหาดสะกอม ห่างแคมป์ก่อสร้างรูปปั้นเจ้าแม่กวนอิม 400 เมตร ด้านผู้ว่าฯสงขลาสั่งนายอำเภอเทพาเร่งเคลียร์พื้นที่ให้ประชาชน เยี่ยมคนเจ็บ ส่วนที่ยะหา ซุ่มยิงทหารพัฒนาสาหัส

ป่วนยะลา-ปัตตานีอีก 10 จุด โหมสถานการณ์ถล่มแคมป์คนงาน

Loading

นอกเหนือจากเหตุยิงเอ็ม 79 ถล่มแคมป์คนงานก่อสร้างโครงการรูปปั้นเจ้าแม่กวนอิมใหญ่ที่สุดในโลก ที่ริมหาดบ้านปากบางสะกอม อ.เทพา จ.สงขลา รอยต่อกับสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จนมีผู้บาดเจ็บ 3 ราย พร้อมใบปลิวข่มขู่แล้ว

ด่วน! คนร้ายลอบยิงถล่มเอ็ม79 ใส่ที่พักคนงานก่อสร้าง ‘เจ้าแม่กวนอิม’ สงขลา เจ็บ 3 ราย

Loading

เมื่อช่วงเช้าตรู่วันที่ 20 พ.ย. ผู้สื่อข่าวรายงานว่า พ.ต.อ.ธรรมรัตน์ เพชรหนองชุม ผกก.สภ.เทพา จ.สงขลา ได้รับแจ้งจากเจ้าหน้าที่ อส.ชคต.เกาะสะบ้า จ.สงขลา รายงานเหตุระเบิดที่พักคนงานก่อสร้างเจ้าแม่กวนอิม บ้านปากบางสะกอม หมู่ 1 ต.สะกอม อ.เทพา จ.สงขลา

เตือนผู้ใช้ Palo Alto Networks Firewall ที่เปิดหน้าบริหารจัดการผ่านอินเทอร์เน็ต อัปเดต 2 ช่องโหว่ใหม่ด่วน!

Loading

Palo Alto Networks ได้ประกาศออกแพตช์ 2 ช่องโหว่ร้ายแรงที่ถูกเริ่มใช้โจมตีจริงแล้ว โดยเป็นการ Bypass การพิสูจน์ตัวตนและยกระดับสิทธิ์กระทบกับ PAN-OS เวอร์ชัน 10.2, 11.0, 11.1 และ 11.2

เจาะสำเร็จ แฮ็กเกอร์จีน เจาะระบบสื่อสาร โดน FBI จับขาหนังขาเขา

Loading

ก่อนหน้านี้ Techhub เคยนำเสนอข่าวว่า มีแฮกเกอร์จีนกลุ่มหนึ่ง ได้เจาะเข้าระบบ เจาะระบบผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISP) รายใหญ่ 3 รายในสหรัฐฯ โดยสามารถเข้าถึงข้อมูลสำคัญได้ แต่ตอนนี้ ยังไม่รายละเอียดอะไรมากนัก

คุยการเมืองเรื่องทรัมป์ เทรดวอร์และระเบียบโลกใหม่ กับศ.ดร. สิริพรรณ นกสวน สวัสดี

Loading

    “กรุงเทพธุรกิจ” ชวนพูดคุยกับ ศ. ดร.สิริพรรณ นกสวน สวัสดี ผู้เชี่ยวชาญด้านการเมืองระหว่างประเทศอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรมหาวิทยาลัย ถึงผลของการกลับมาของทรัมป์ที่มีต่อระเบียบโลกและประชาธิปไตยสหรัฐ   การกลับมาของ “โดนัลด์ ทรัมป์” ในฐานะว่าที่ประธานาธิบดีคนที่ 47 ของสหรัฐจากพรรครีพับลิกันสร้างทั้งความตระหนักและตระหนกให้กับประชาคมโลกโดยเฉพาะประเด็นนโยบาย America First ที่อาจนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงระเบียบโลกครั้งใหญ่   ว่ากันว่าภายใต้การนำของทรัมป์ สหรัฐมีแนวโน้มที่จะถอยห่างจากบทบาทผู้นำโลกเสรีที่เคยดำรงมาตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดยหันมาเน้นการเจรจาแบบทวิภาคีที่มุ่งผลประโยชน์ระยะสั้นมากกว่าการรักษาพันธมิตรเชิงยุทธศาสตร์ระยะยาว การถอนตัวจากข้อตกลงระหว่างประเทศสำคัญๆ อย่างความตกลงปารีสและองค์การอนามัยโลกในสมัยแรก สะท้อนให้เห็นถึงท่าทีที่เปลี่ยนไปของมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลก   ขณะเดียวกัน การที่ทรัมป์มีความสัมพันธ์อันดีกับผู้นำประเทศที่นักวิชาการด้านรัฐศาสตร์จำนวนหนึ่งมองว่ามิได้ยึดถือหลักการประชาธิปไตย ไม่ว่าจะเป็นรัสเซีย จีน หรือเกาหลีเหนือ ก็ส่งสัญญาณว่าสหรัฐอาจไม่ได้ยึดมั่นในอุดมการณ์ดังกล่าวเหมือนในอดีต (?) การเมืองระหว่างประเทศกำลังเคลื่อนไปสู่ยุคที่ความสัมพันธ์ “ส่วนตัว” ระหว่างผู้นำมีความสำคัญมากกว่าค่านิยมร่วมหรือผลประโยชน์ระยะยาวของประเทศ   นอกจากนี้ ยังมีความกังวลเกี่ยวกับสถานะความเป็นประชาธิปไตยของสหรัฐเอง หลังจากที่ทรัมป์ปฏิเสธผลการเลือกตั้งในปี 2020 จนนำไปสู่เหตุการณ์จลาจลที่รัฐสภาในวันที่ 6 ม.ค. ซึ่งถือเป็นจุดต่ำสุดของประชาธิปไตยอเมริกัน การแบ่งขั้วทางความคิดที่รุนแรงขึ้น ประกอบกับวิธีการหาเสียงที่เน้นการโจมตีคู่แข่งและการสร้างความเกลียดชัง ทั้งหมดล้วนส่งผลให้สถาบันจัดอันดับประชาธิปไตยระดับโลกจัดให้สหรัฐเป็นเพียง “ประชาธิปไตยที่บกพร่อง”   แม้ว่าทรัมป์จะยังไม่ได้เข้ารับตำแหน่งอย่างเป็นทางการ แต่ทิศทางนโยบายต่างประเทศที่เขาวางไว้ก็มีความเป็นไปได้ว่าทั้งโลกกำลังจะเข้าสู่ยุคใหม่ที่ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจะซับซ้อนและไม่แน่นอนมากขึ้น…