ศาลสูงสุดบราซิลเร่งอพยพ หลังเกิดเหตุระเบิด 2 รอบ ดับ 1 ศพ
เกิดเหตุระเบิดสองครั้งนอกศาลสูงสุดของบราซิลเมื่อวันพุธ ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 1 ศพ และทำให้ผู้พิพากษาและเจ้าหน้าที่คนอื่นๆ ต้องเร่งอพยพออกจากอาคารในกรุงบราซิเลีย
เกิดเหตุระเบิดสองครั้งนอกศาลสูงสุดของบราซิลเมื่อวันพุธ ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 1 ศพ และทำให้ผู้พิพากษาและเจ้าหน้าที่คนอื่นๆ ต้องเร่งอพยพออกจากอาคารในกรุงบราซิเลีย
ทางการเปรูยกระดับการรักษาความปลอดภัยในกรุงลิมา รับผู้นำโลกเข้าร่วมการประชุมผู้นำเขตเศรษฐกิจเอเปค ครั้งที่ 31 ขณะที่ชาวเปรูหลายร้อยคนออกมาประท้วงบนท้องถนนในกรุงลิมา เพื่อต่อต้านรัฐบาลและความล้มเหลวในการแก้ไขปัญหาอาชญากรรมที่เพิ่มมากขึ้น
การติดตั้งกล้องวงจรปิดนั้น ผู้ใช้งานทุกรายก็คาดหวังที่จะได้รับความปลอดภัยที่มากขึ้นจากการที่มีความสามารถในการสอดส่องสถานที่ เคหสถานของตนเองได้ แต่ถ้ากล้องเหล่านั้นมีช่องโหว่ให้แฮกได้ จะเกิดอะไรขึ้น ?
ตามนโยบายของ พล.ต.ท.จิรภพ ภูริเดช ผบช.ก. ที่ได้สั่งการให้ตำรวจสอบสวนกลาง (CIB) โดย กองบังคับการตำรวจน้ำ (บก.รน.) ดำเนินภารกิจอำนวยความสะดวกการจราจรทางน้ำ ลาดตระเวนตรวจการณ์ และประจำพื้นที่ปฏิบัติการในช่วงเทศกาลวันลอยกระทง ซึ่งมีการมุ่งเน้นให้เจ้าหน้าที่ตำรวจน้ำดูแลรักษาความปลอดภัยให้กับพี่น้องประชาชนที่มาร่วมกิจกรรมในงานวันลอยกระทง พร้อมดำเนินการป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิดต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นในช่วงเทศกาลดังกล่าว
เว็บไซต์ The Hindu รายงานเมื่อ 13 พ.ย.67 ว่า เมื่อ 12 พ.ย.67 ตำรวจรัฐอุตตรประเทศ อินเดีย เพิ่มการรักษาความปลอดภัยโดยรอบวัดรามในเมืองอโยธยา รัฐอุตตระประเทศ อินเดีย ภายหลังนาย Gurpatwant Singh Pannun ผู้นำกลุ่มสนับสนุนคาลิสถานโพสต์วิดิโอขู่โจมตีวัดดังกล่าว ในวิดีโอดังกล่าว นาย Pannun ผู้นำกลุ่ม Sikhs for Justice ได้ออกมาเตือนว่าอาจเกิดเหตุการณ์นองเลือดที่วัดรามในเมืองอโยธยา ระหว่างวันที่ 16-17 พ.ย.67 ซึ่งตรงกับเทศกาล Ram Vivah ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 18 พ.ย.67 ซึ่งคาดว่านาย Yogi Adityanath รัฐมนตรีแห่งรัฐอุตตระประเทศจะเข้าร่วมงานด้วย ตำรวจเผยว่า ภายหลังจากการปรากฎของคำขู่ดังกล่าว เมืองอโยธยาได้กลายเป็นป้อมปราการพร้อมด้วยมาตรการรักษาความปลอดภัยที่เข้มงวดมากขึ้นโดยรอบบริเวณอาคารรามจันมภูมิ โดยเจ้าหน้าที่ติดอาวุธของหน่วยต่อต้านการก่อการร้าย (ATS) ประจำการตามจุดสำคัญของวัด และมีการเฝ้าระวังผ่านกล้องวงจรปิดและกล้องโดรนอย่างเข้มงวด นอกจากนี้ หน่วยข่าวกรอง หน่วยต่อต้านการก่อการร้าย…
ในยุคที่คน “ติดโทรศัพท์มือถือ” ใช้งานมากกว่าการติดต่อสื่อสาร ส่งผลให้เกิด “Mobility Data” หรือชุดข้อมูลการเคลื่อนที่ของผู้ใช้งานจากมือถือ ที่ถือว่าเป็น “Big Data” ที่สามารถนำมาวิเคราะห์เพื่อใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้มากมาย วันนี้ คอลัมน์ “ชีวิตติด TECH” มีมุมมองจากการใช้ประโยชน์จากข้อมูลมือถือ จากเวทีเสวนาหัวข้อ “สร้างนโยบายแห่งอนาคต ด้วยพลังข้อมูล Shaping the Future with Insights” ในงาน “dataCon 2024” มาแบ่งปันกัน อย่างที่รู้ๆ กันว่า “ดาต้า” หรือ “ข้อมูล” ถือเป็นสิ่งที่ถูกนำมามาใช้ในหลายวงการ โดยเฉพาะภาคธุรกิจ และเรื่อง “บิ๊กดาต้า” จะเป็นเทคโนโลยีที่มีบทบาทอย่างมากในอนาคต แต่ที่ผ่านมา การใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่ผ่านมา ยังคงจำกัดอยู่ในแวดวงธุรกิจเป็นหลัก เช่น การนำข้อมูลพฤติกรรมผู้บริโภคมาใช้วิเคราะห์ด้านการตลาด แต่จริงๆ แล้ว เราสามารถนำไปในประโยชน์ใตด้านอื่นๆ ได้เช่นกัน อาทิ เรื่องการท่องเที่ยว เป็นต้น “ณัฐพงศ์ พันธ์น้อย” อาจารย์ภาควิชาวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บอกว่า การนำ “Mobility Data” หรือข้อมูลมือถือ…
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว