หลังเกิดเหตุแผ่นดินไหว ต้องตรวจสอบอะไรบ้าง

Loading

    ภายหลังเกิดเหตุแผ่นดินไหว สิ่งที่ตามมาคือ ความกังวลว่าที่พักอาศัยหรือสถานที่ทางาน สถานประกอบการของตนเองมีความปลอดภัยแค่ไหน ในเบื้องต้นเราควรตรวจสอบอะไรบ้าง กรณีโครงสร้างของบ้านพักอาศัย หรืออาคารที่ทาการ ที่ปรากฏรอยร้าว ต้องสังเกตอย่างไร? รอยร้าวประเภทไหนปลอดภัย และประเภทไหนที่อันตราย สรุปสิ่งที่ควรดาเนินการเพื่อประเมินความปลอดภัยอาคารสถานที่ ไม่ว่าจะเป็นบ้านพักอาศัย สถานที่ทำการ สถานประกอบการ ฯลฯ ที่เราต้องอยู่อาศัย หรือใช้ในชีวิตประจำวัน ควรดำเนินการดังนี้   1. ตรวจสอบความเที่ยงตรง (แนวดิ่ง แนวฉาก) ของอาคาร โดยตรวจสอบว่า อาคารอยู่ในสภาพแนวดิ่ง แนวฉากปกติ ตามแบบแปลนอาคารหรือไม่ 2. ตรวจสอบรอยร้าวที่ปรากฏ ทั้งส่วนที่เป็นโครงสร้าง และในส่วนที่เป็นการตกแต่ง   อาคารโครงสร้างไม้ : เป็นโครงสร้างที่มีน้าหนักเบา เมื่อเกิดแผ่นดินไหวจะส่งผลกระทบต่ออาคารประเภทนี้น้อยกว่าประเภทอื่น ๆ ความเสียหายของชิ้นส่วนโครงสร้างไม้ส่วนมากจะเกิดขึ้นเฉพาะจุดต่อ (connectionconnection) แต่มักจะไม่ปรากฏความเสียหายที่ตัวชิ้นส่วนโครงสร้าง   อาคารโครงสร้างอิฐก่อ : การพังททลายของอาคารโครงสร้างอิฐก่อส่วนใหญ่จะเป็นผลเนื่องมาจาก การเอนออกจากระนาบ (out of planeplane) ของผนังก่ออิฐ ความเสียหายที่ต้องให้ความสนใจ คือ…

‘กระเป๋ารับมือภัยพิบัติ’ ควรเตรียมอะไรบ้าง หากเกิด ‘แผ่นดินไหว’

Loading

“ญี่ปุ่น” ประเทศที่เกิดแผ่นดินไหวอยู่บ่อยครั้ง แนะนำให้เตรียม “กระเป๋าโบไซ” (Bousai Bag) ชุดอุปกรณ์ฉุกเฉินที่สามารถช่วยให้ประชาชนดำรงชีพได้นานถึง 3-5 วัน ในกรณีที่เกิดภัยพิบัติ

ไกล “แผ่นดินไหว” ตั้งไกลทำไมสะเทือนแรง ? ชวนเข้าใจ ดินอ่อนใต้กทม.

Loading

สงสัยกันไหม “แผ่นดินไหวในเมียนมาทำไมสั่นตึกสะเทือนซะรุนแรง“ เรื่องนี้ข้อมูลทางธรณีวิทยา และฟิสิกส์ อาจไขกระจ่างได้ ก่อนอื่นต้องเข้าใจก่อนว่า พื้นผิวโลกไม่ได้เหมือนกันทุกหนแห่ง บางแห่งเป็นพื้นที่แข็ง เช่น เชียงใหม่ หรือบางแห่งเป็นพื้นที่ดินอ่อน เช่น กรุงเทพฯ

สรุปแผ่นดินไหว 8.2 ใน ‘เมียนมา’ วันมหาวิปโยคแรงที่สุดในรอบ 100 ปี

Loading

สำนักข่าวบลูมเบิร์กรายงานว่า แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นในเมียนมาเมื่อเวลาประมาณ 13.21 น. วันนี้ (28 มี.ค.68) นับเป็นเหตุแผ่นดินไหวครั้งรุนแรงที่สุดที่เคยขึ้นในรอบ 100 ปีของเมียนมา และสร้างแรงสั่นสะเทือนรับรู้ไปไกลถึงประเทศเพื่อนบ้านหลายแห่ง แม้แต่ “เวียดนาม” ที่ไม่ได้มีพรมแดนติดกัน ก็ทำให้อาคารสั่นไหวจนต้องมีการอพยพคนออกจากอาคาร

ภูมิรัฐศาสตร์โลกกำลังจะเปลี่ยน

Loading

รัสมุส จาร์ลอฟ เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน อดีตสมาชิกสภานครโคเปนเฮเกน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร รัฐมนตรีพาณิชย์เดนมาร์ก เตือนทรัมป์เรื่องจะซื้อเกาะกรีนแลนด์ ว่าคำพูดของทรัมป์จะนำไปสู่ความขัดแย้ง ปัจจุบันจาร์ลอฟเป็นประธานคณะกรรมการกลาโหม แกเริ่มต่อต้านสหรัฐฯและบอกว่าเดนมาร์กเสียใจที่ไปซื้อเครื่องบินขับไล่ F-35 ของสหรัฐฯ

เสี่ยงสงคราม:การเผชิญหน้าระหว่างสหรัฐฯ-อิหร่าน ตึงเครียดขึ้นไปทุกที

Loading

ในความเป็นจริงอิหร่านไม่ใช่ภัยคุกคามโดยตรงต่อสหรัฐฯ และถ้าจะพิจารณาโดยศักยภาพสหรัฐฯก็เหนือกว่ามากมาย ดังนั้นการข่มขู่ของสหรัฐฯที่จะโจมตีอิหร่าน จึงดูไม่สมเหตุสมผลอย่างยิ่ง และหากมีการโจมตีจริงก็ขัดต่อกฎหมายระหว่างประเทศเต็มที่