เมื่อ คาร์บอน ไม่ใช่ศัตรูร้าย

Loading

คำว่า “ลดคาร์บอน” หรือ “ปลอดคาร์บอน” กลายเป็นเป้าหมายสูงสุดของนโยบายพลังงานและสิ่งแวดล้อมในหลายประเทศ จนดูเสมือนว่าคาร์บอนเป็นผู้ร้ายที่ต้องถูกขจัดออกจากระบบให้หมดไปแต่ความเป็นจริงนั้นซับซ้อนกว่าภาพขาวดำที่วาดไว้ คาร์บอนไม่ใช่ศัตรูของมนุษย์ หากแต่เป็นองค์ประกอบสำคัญของชีวิตและระบบนิเวศที่สมดุล สิ่งที่เราต้องเข้าใจให้ลึกซึ้งขึ้นคือ “บริบท” และ “ปริมาณ” ของคาร์บอน ไม่ใช่การเหมารวมให้เป็นผู้ร้ายที่ต้องกำจัดอย่างสุดโต่ง

“โดรนกู้ภัย”สำคัญไฉน?

Loading

“โดรนกู้ภัย”สำคัญไฉน?ยกให้เป็นหนึ่งในอุปกรณ์สำคัญในปฏิบัติการกู้ภัย บรรเทาสาธารณภัยต่างๆ กันไปแล้วสำหรับ “โดรนกู้ภัย (Rescue Drone)” ซึ่งก็คือ อากาศยานไร้คนขับชนิดหนึ่ง ที่ถูกนำมาใช้ในปฏิบัติการข้างต้น

สิ่งที่ไม่รู้เกี่ยวกับ มลพิษจาก ‘ไมโครพลาสติก’ ว่าอันตรายแค่ไหน

Loading

มลพิษเป็นหนึ่งใน 10 ความเสี่ยงที่คาดว่าจะมีผลกระทบที่รุนแรงที่สุดในทศวรรษหน้า ตามรายงานความเสี่ยงระดับโลกปี 2568 (Global Risk Report) ของ World Economic Forum พลาสติกเป็นหนึ่งในมลพิษหลัก โดยมี 19 ล้านตันรั่วไหลลงสู่แผ่นดิน แม่น้ํา และชายฝั่งทุกปี ไมโครพลาสติกเป็นส่วนสําคัญของสิ่งนี้ การประมาณการชี้ให้เห็นว่า ไมโครพลาสติกเป็นตัวแทนมากกว่า 90% ของพลาสติกทั้งหมดบนพื้นผิวมหาสมุทร

กลุ่มรอยเลื่อนคลองมะรุ่ย แผ่นดินไหวกระบี่ จับตา 9 รอยเลื่อนมีพลัง

Loading

กลุ่มรอยเลื่อนคลองมะรุ่ย สั่นไหวในพื้นที่ภาคใต้ครั้งสุดท้าย จนล่าสุดบ่ายวันนี้ (14 เม.ย. 68) เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.5 ใน อ.เหนือคลอง จ.กระบี่ ขณะที่กรมอุตุนิยมวิทยาจับตา 9 รอยเลื่อนมีพลังในไทยโดยกรมอุตุนิยมวิทยาเผยแพร่ข้อมูล 9 รอยเลื่อนมีพลัง ดังนี้

แผ่นดินไหวเมียนมา กับโอกาสเกิดสันติภาพ

Loading

  Damaged Maha Aungmye Bonzan Monastery, commonly known as the Me Nu Brick Monastery, is seen in the aftermath of Friday’s earthquake in Innwa, Tada-U township, Mandalay, Myanmar, Friday, April 4, 2025. (AP Photo)     เมื่อวันที่ 28 มีนาคมที่ผ่านมา เมียนมาเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงขนาด 8.2 แมกนิจูด ซึ่งส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อประเทศที่กำลังประสบกับความขัดแย้งทางการเมือง และการต่อสู้ที่ยืดเยื้อมานานหลายปี ระหว่างฝ่ายรัฐบาลทหารของเมียนมากับบรรดากลุ่มต่อต้าน   การเกิดแผ่นดินไหวในครั้งนี้ไม่เพียงแต่ทำให้บ้านเรือนและโครงสร้างพื้นฐานของประเทศได้รับความเสียหาย แต่ยังได้จุดชนวนทำให้เกิดการหยุดยิงชั่วคราวจากฝ่ายที่ขัดแย้ง ซึ่งเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้ยากในช่วงเวลาที่ความรุนแรงระหว่างกองทัพเมียนมาและกลุ่มต่อต้านการปกครองของทหารยังคงดำเนินอยู่   โดยหลังจากแผ่นดินไหวรุนแรงครั้งนี้ ฝ่ายต่อต้าน การปกครองของทหารในเมียนมา ได้ประกาศหยุดยิงในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ เพื่อลดความรุนแรงและเปิดโอกาสให้มีการบรรเทาทุกข์แก่ผู้ประสบภัย…

The Great Polarization: โลก ‘หลังทรัมป์’ ที่อเมริกาไม่ใช่เจ้าโลกอีกต่อไป

Loading

  ดร.นณริฏ พิศลยบุตร นักวิชาการอาวุโส TDRI มองว่าโลกกำลังเข้าสู่ “The Great Polarization” ไม่ใช่ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ แต่เป็นการแบ่งขั้วระหว่างประเทศที่ปรับตัวได้กับปรับตัวไม่ได้ ท่ามกลางสงครามการค้าสหรัฐ-จีนที่ทวีความรุนแรง ชี้ประเทศที่มีหนี้ต่ำ นโยบายยืดหยุ่น และไม่ยึดติดรูปแบบเศรษฐกิจเดิมจะเป็นผู้ชนะ ขณะที่ทุกประเทศต้องเตรียมรับมือการถูกบังคับให้เลือกข้าง   ท่ามกลางความปั่นป่วนที่ทวีความรุนแรงขึ้นทั่วโลก สถานการณ์เศรษฐกิจและการเมืองระหว่างประเทศกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ดร. นณริฏ พิศลยบุตร นักวิชาการอาวุโสจาก สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ได้วิเคราะห์ถึงระดับความรุนแรงของสถานการณ์ที่โลกกำลังเผชิญใน งานเสวนาโต๊ะกลม “ผ่ากำแพงภาษี “ทรัมป์” ฝ่าวิกฤติเศรษฐกิจ : Trump’s Uncertainty”  โดยความรุนแรงแบ่งออกเป็น 3 ระดับด้วยกัน   ระดับที่ 1: มุ่งเน้นเรื่องภาษี (Tariff) เพียงอย่างเดียว ซึ่งผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่าจะต้องเกิดขึ้นอย่างแน่นอน   ระดับที่ 2: มีความรุนแรงมากขึ้น โดยจะขยายวงกว้างไปถึงภาคบริการและตลาดทุน ซึ่งจะสร้างผลกระทบในวงกว้างต่อ ระบบเศรษฐกิจโลก   ระดับที่ 3: เป็นระดับที่น่ากลัวที่สุด เปรียบเสมือน “สงครามโลกครั้งที่ 3” ทางด้านการค้า ที่จะนำไปสู่การแข่งขันอย่างดุเดือดระหว่างสหรัฐฯ…