ทำความรู้จัก สัญญา NDA หรือ สัญญารักษาความลับ โทษแรงขนาดไหน?

Loading

  ทำความรู้จัก สัญญา NDA หรือ สัญญารักษาความลับ โทษแรงขนาดไหน? ทำความรู้จัก “สัญญา NDA” (Non-Disclosure Agreement) หรือ สัญญารักษาความลับ โทษแรงขนาดไหน หากผิดสัญญารักษาความลับต้องโดนอะไบ้าง     สัญญา NDA คืออะไร?  สัญญา NDA หรือ สัญญารักษาความลับ โดย NDA ย่อมาจาก Non-Disclosure Agreement คือเอกสารทางกฎหมายระหว่างคู่สัญญาตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป ซึ่งตกลงที่จะไม่เปิดเผยข้อมูลที่มีความละเอียดอ่อน หรือความลับใดๆ ระหว่างการทำธุรกิจร่วมกัน เช่นเดียวกับข้อตกลงความเป็นส่วนตัวที่ปกป้องความลับระหว่างหมอกับผู้ป่วย และระหว่างทนายความกับลูกค้า NDA จะมอบการปกป้องที่สำคัญให้กับเจ้าของธุรกิจที่แชร์ข้อมูลที่เป็นความลับกับพาร์ทเนอร์หรือนักลงทุน พนักงาน รวมถึงผู้ทำสัญญาในอนาคต ความสำคัญของสัญญา NDA  โดยข้อตกลงดังกล่าวจะไม่ให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเปิดเผยหรือเผยแพร่ข้อมูลให้กับบุคคลภายนอกหรือบุคคลที่ไม่ได้รับอนุญาต หากข้อมูลถูกเปิดเผยออกไปอาจทำให้คู่สัญญาเจ้าของข้อมูลความลับนั้นได้รับความเสียหาย หรือเสียเปรียบทางธุรกิจได้   ทั้งนี้หากคู่สัญญากระทำผิดต่อสัญญา NDA แล้วนั้น จะต้องชดใช้ค่าเสียหายตามที่ได้กำหนดในสัญญา หรืออาจมีความผิดตามกฎหมายตามมาอีกด้วย ยิ่งหากเป็นการกระทำผิดที่เข้าข่ายการเปิดเผยความลับที่ผิดต่อสิทธิบัตรหรือทรัพย์สินทางปัญญาแล้ว โดยความผิดตามกฎหมายดังกล่าวนั้นจะเกี่ยวข้องกับข้อกฎหมายดังต่อไปนี้   1. ประมวลกฎหมายอาญา…

จับตา “การประชุมสองสภา 2025” ในบริบทพลวัตด้านอำนาจของจีนที่เปลี่ยนไป

Loading

การประชุมสองสภา (Two sessions) กิจกรรมทางการเมืองซึ่งมีความสำคัญที่สุดในรอบปีของจีน จะเปิดฉากขึ้นด้วยการประชุมของสภาที่ปรึกษาการเมืองแห่งประชาชนจีน (CPPCC) ในวันอังคาร (4 มี.ค.) ตามด้วยการประชุมสภาประชาชนแห่งชาติ (NPC) ในวันพุธ (5 มี.ค.)การประชุมสองสภาถือเป็นช่วงเวลาสำคัญในการเฝ้าสังเกตการณ์แผนพัฒนาของจีน

อ่านความคิดสหรัฐอเมริกา The Return of Trump ชะตากรรมอาเซียนจะเป็นอย่างไร?

Loading

ท่าทีอันเกรี้ยวกราดของ โดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ที่แสดงต่อ โวโลดิมีร์ เซเลนสกี ประธานาธิบดียูเครน และสายตาชาวโลก เมื่อวันที่ 28 ก.พ.ที่ผ่านมา ณ ทำเนียบขาว สะท้อนถึงจุดยืนและท่าทีของ “สหรัฐอเมริกา” ในภาคต่อของการดำรงตำแหน่งสมัยที่ 2 ได้เป็นอย่างดีภายใต้มหากาพย์ The Return of Trump

‘จุดตัดประวัติศาสตร์’ สรุปประชุมผู้นำยุโรป-เซเลนสกีที่ลอนดอน เห็นพ้องแผน 4 ประการ หนุนสันติภาพยูเครน

Loading

18 ผู้นำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้นำชาติยุโรป รวมถึงอังกฤษ, ฝรั่งเศส, ผู้นำแคนาดา, ประธานคณะกรรมาธิการยุโรป และเลขาธิการ NATO ร่วมประชุมกับประธานาธิบดี โวโลดิเมียร์ เซเลนสกี ของยูเครน ที่กรุงลอนดอน วานนี้ (2 มีนาคม) ท่ามกลางความพยายามในการหาหนทางสู่กระบวนการสันติภาพและการรับประกันความมั่นคงของยูเครน

เส้นทางของประเทศไทยในบริบทโลกไร้คาร์บอน

Loading

ความพยายามของประเทศไทยที่จะร่วมขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างจริงจังและเข้มแข็ง จากแผนที่นำทางการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ พ.ศ.2564-2573 สู่การจัดทำแผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกรายสาขา อันประกอบด้วย (1) สาขาพลังงาน โดยมีสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก (2) สาขาขนส่ง โดยมีสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร กระทรวงคมนาคม เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก (3) สาขากระบวนการทางอุตสาหกรรมและการใช้ผลิตภัณฑ์ รวมถึงน้ำเสียอุตสาหกรรม โดยมีกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก และ (4) สาขาการจัดการของเสียชุมชน โดยมีกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก

เทรนด์พลังงานนิวเคลียร์ 2025 นวัตกรรมที่จะพลิกโฉมโลก

Loading

  ในปี 2025 ความต้องการแหล่งพลังงานที่สะอาดและยั่งยืน ทำให้ภาคพลังงานนิวเคลียร์กำลังเติบโตและเป็นที่ต้องการอย่างมาก เพราะเป็นพลังงานที่มีเสถียรภาพและปล่อยคาร์บอนต่ำ โดยองค์การพลังงานระหว่างประเทศ (IEA) คาดการณ์ว่า การผลิตพลังงานนิวเคลียร์ทั่วโลกจะเติบโตขึ้นเกือบ 3% ต่อปีจนถึงปี 2026 พลังงานนิวเคลียร์ฟื้นตัวในบางประเทศ เช่น จีนตั้งเป้าที่จะมีความสามารถผลิตพลังงานนิวเคลียร์สูงถึง 100 กิกะวัตต์ (GW) ภายในปี 2025 ขณะที่อินเดียยังคงเพิ่มจำนวนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ โดยให้ความสำคัญกับเทคโนโลยีเครื่องปฏิกรณ์ขนาดเล็ก (SMRs) ในยุโรป หลายประเทศกำลังพิจารณานโยบายยกเลิกการยุติการใช้พลังงานนิวเคลียร์ เช่น ฝรั่งเศส ซึ่งเป็นผู้ผลิตพลังงานนิวเคลียร์อันดับสองของโลกได้ประกาศว่าจะขยายพลังงานนิวเคลียร์ ในขณะที่ เยอรมนี ซึ่งเคยมีแผนที่จะยุติการใช้พลังงานนิวเคลียร์ ก็ได้เลื่อนการยุติออกไปเพื่อรักษาความเสถียรของกริดไฟฟ้าและความมั่นคงด้านพลังงาน ขณะที่ประเทศไทยก็กำลังดำเนินการในภาคพลังงานนิวเคลียร์เช่นกัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์การเปลี่ยนผ่านพลังงานที่กว้างขึ้น โดยโฟกัสไปที่ศักยภาพของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ขนาดเล็ก (SMRs) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้เป็นศูนย์ภายในปี 2065 อย่างไรก็ตาม การพิจารณาด้านกฎระเบียบและความปลอดภัย ความปลอดภัยยังคงเป็นปัจจัยสำคัญ โดยเฉพาะหลังจากเหตุการณ์ ฟุกุชิมะ ในปี 2011 ที่ทำให้ประชาชนรู้สึกไม่เชื่อมั่นต่อพลังงานนิวเคลียร์ยังคงมีอยู่ แต่รัฐบาลหลายๆ ประเทศ ก็ได้ดำเนินการเพื่อให้มั่นใจว่ามีมาตรฐานด้านความปลอดภัยที่ดี ผลิตพลังงานนิวเคลียร์เพิ่ม 3 เท่า แรงผลักดันที่สำคัญ คือ…