‘กล้องวงจรปิด’ ยิ่งเยอะ ยิ่งดีต่อประชาชน ยิ่งเพิ่มความปลอดภัยให้ประเทศ

Loading

  ชวนดูการติดตั้ง ‘กล้องวงจรปิด’ (Surveillance) ในจีน ประเทศที่มีกล้องมากที่สุดในโลก และการใช้ประโยชน์ระบบกล้องวงจรปิดในด้านต่าง ๆ   ไม่นานมานี้ สวี่กานลู่ รองรัฐมนตรีว่าการกระทรวงความมั่นคงสาธารณะของจีน ให้ข้อมูลผ่านการแถลงข่าวว่า จีนได้รับการยอมรับในวงกว้าง ว่าเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความปลอดภัยมากที่สุดในโลก เนื่องจากมีอัตราการฆาตกรรมและจำนวนคดีความเกี่ยวกับปืนและวัตถุระเบิดต่ำที่สุด ทั้งยังมีจำนวนคดีอาญาและอุบัติเหตุด้านความปลอดภัยลดลงอย่างมีนัยสำคัญตลอด 10 ปีที่ผ่านมา     เพราะสังคมไม่ปลอดภัย กล้องวงจรปิด จึงเป็นของที่ต้องมี? ศูนย์สื่อมวลชนสำหรับการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 20 จัดการแถลงข่าวในกรุงปักกิ่ง เมืองหลวงของจีน วันที่ 19 ต.ค. 2022 | ที่มา : Xinhua   หากดูเฉพาะประเทศจีน หนึ่งในปัจจัยที่ทำให้จีนได้ชื่อว่า ปลอดภัยที่สุดในโลก เป็นผลมาจากรัฐบาลสั่งติดตั้ง กล้องวงจรปิด ทั่วประเทศ ร่วมกับการใช้มาตรการปราบปรามอย่างจริงจัง โดยเฉพาะในหัวเมืองใหญ่   หลังผ่านการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 20 สวี่เผยตัวเลขแก่สื่อมวลชนว่า จำนวนการกระทำผิดทางอาญาขั้นร้ายแรง อาทิ คดีฆาตกรรมและการข่มขืน ในปี…

คอมพิวเตอร์เก่าอย่านึกว่าทิ้งได้ง่าย ๆ

Loading

  เมื่อวันที่ 20 กันยายนที่ผ่านมา Morgan Stanley Smith Barney (MSSB) บริษัทวาณิชธนกิจชื่อดัง ตกลงยอมความกับ Securities and Exchange Commission (SEC) ในข้อหาเกี่ยวกับการทิ้งเครื่องคอมพิวเตอร์เก่าในสำนักงานโดยไม่ระมัดระวัง!!!   ทำไม SEC ต้องมายุ่งเกี่ยวกับการทิ้งเครื่องคอมพิวเตอร์เก่า? เหตุผลก็เพราะว่า ในบรรดาเครื่องคอมพิวเตอร์เก่าโดยเฉพาะ Hard disk และ Server มีข้อมูลส่วนบุคคลของผู้เป็นลูกค้ากว่า 15 ล้านคน   เรื่องของเรื่องเกิดเมื่อปี 2015 MSSB ทำการเปลี่ยนแปลงคอมพิวเตอร์ของบริษัทนับพันเครื่อง ในการนี้ MSSB ไปว่าจ้างบริษัทแห่งหนึ่งมาทำการจัดการเอาเครื่องคอมพิวเตอร์เก่าเหล่านั้นไปกำจัด แต่บริษัทแห่งนี้ไม่มีประสบการณ์เกี่ยวกับวิธีการกำจัดเครื่องคอมพิวเตอร์โดยถูกวิธีมาก่อน ผลสุดท้าย เครื่องคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถูกนำไปประมูลขายโดยที่มิได้มีการลบข้อมูลส่วนบุคคลที่อยู่ในเครื่องเหล่านั้นออก ในภายหลัง MSSB ติดตามเครื่องที่ขายไปได้บางส่วน   แต่ว่าส่วนใหญ่ได้หายสาบสูญไปโดยไม่สามารถติดตามได้โดยเฉพาะเครื่อง Server 42 เครื่องที่มีข้อมูลซึ่งไม่ได้เข้ารหัสของลูกค้าอยู่ งานนี้ MSSB ต้องเสียค่าปรับยอมความไปทั้งสิ้น 35 ล้านเหรียญสหรัฐ  …

จาก Cyber Risk สู่ Digital Risk – ประเทศไทยจะก้าวข้าม Data Privacy Threats ที่หลบซ่อนอยู่ได้อย่างไร

Loading

  สำหรับผู้ที่ไม่ได้เข้าร่วม Exclusive Talk เรื่อง “จาก Cyber Risk สู่ Digital Risk – ประเทศไทยจะก้าวข้าม Data Privacy Threats ที่หลบซ่อนอยู่ได้อย่างไร” พร้อมเปิดมุมมอง Digital Risk & Digital Inequality แนวโน้มใหม่ที่กำลังเปลี่ยนโลกดิจิทัลอย่างสิ้นเชิง กับความจำเป็นในการเตรียมความพร้อมรับมือ “ความเสี่ยงดิจิทัล” (Digital Risk) ที่องค์กรต้องเข้าใจอย่างถ่องแท้ว่ามีความหมายไม่เหมือน “ความเสี่ยงไซเบอร์” (Cyber Risk)   โดย อาจารย์ปริญญา หอมเอนก ผู้ก่อตั้งและประธาน ACIS Professional Center ที่เพิ่งจัดไปเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา หรือต้องการรับชมการบรรยายซ้ำอีกครั้ง สามารถเข้าชมวิดีโอบันทึกย้อนหลังได้ที่บทความนี้ครับ   วิทยากรรับเชิญ: อาจารย์ปริญญา หอมเอนก ประธานกรรมการบริหาร ACIS Professional Center   ภัยคุกคามยุคสมัยใหม่ไม่ใช่แค่การโจมตีจากแฮ็กเกอร์อีกต่อไป เพื่อรับมือกับความท้าทายด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ที่ทวีความซับซ้อนและรุนแรงขึ้น ทุกคนต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านดิจิทัลด้วยการตระหนักรู้และเข้าใจถึงการเปลี่ยนผ่านจากสู่…

อีก 2-3 ปี ประเทศไทยจะเป็น “เมืองอัจฉริยะ” (Digital (to IoT) Tranformation)

Loading

  วันที่ 20 ตุลาคม ในงาน CE Day 2022 Security Transformation Challenge ทางสปริงนิวส์ได้มีโอกาสศึกษาและรวบรวมข้อมูลในหัวข้อ “Digital IoT Tranformation” ว่าจะเข้ามาเปลี่ยนประเทศไทยได้อย่างไร   คุณนิติ เมฆมหอก นายกสมาคมไอโอที Digital IoT Tranformation ได้แนะนำถึงกลุ่มสมาคมไทย IoT ที่ตั้งมาแล้วกว่า 4 ปี ครึ่ง   ทางสมาคม IoT ประเทศไทยต้องการมุ่งสร้าง 4 หัวข้อได้แก่ Awareness , Expertise , Alliance , Usability ซึ่งสร้างการรับรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี IoT ว่าจะมามีผลกระทบประวันของท่านอย่างไร   เมื่อมีการรวมตัวกันก็จะมีการพัฒนาแชร์องค์ความรู้และทักษะต่างๆ จะเป็นผู้เชี่ยวชาญ​และสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ทั้งภาครัฐและเอกชน และหน่วยงานการศึกษา และสร้างงานที่เกิดขึ้นจริง   และทางสมาคมได้นำเสนอข้อมูลความรู้ในหัวข้อ Smart City…

ไขปริศนา! ต้องปิดไหม? ทำไมต้องปิดมือถือเวลาขึ้นเครื่องบิน?

Loading

  รวมเหตุผลที่ทุกคนต้องรู้ กับกฎข้อบังคับ “ปิดโทรศัพท์มือถือขณะเครื่องบินขึ้นและลง” ที่หลายคนแค่ต้องทำตามสั่ง แต่ไม่เคยเข้าใจว่าทำไมต้องทำ   เสียงประกาศจากพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน ที่ไม่ว่าคุณจะบินไฟลท์ไหน สายการบินอะไร ก็ถือเป็นกฎเหล็กให้ต้อง ปิดโทรศัพท์มือถือขณะเครื่องกำลังจะขึ้นและลง โดยหลักใหญ่ใจความไม่ใช่แค่การเปิด โหมดเครื่องบิน (Airplane Mode หรือ Flight mode) แต่หมายถึงการต้องปิดเครื่องมือสื่อสาร รวมถึงอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ด้วย   เหตุผลที่สายการบินมักจะแจ้งมาพร้อมๆ กับกฎการปิดโทรศัพท์มือถือคือ เครื่องมือสื่อสาร และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์จะมีสัญญาณรบกวนการทำงานของอุปกรณ์นักบิน แต่หลายครั้งที่เรายังไม่รู้ชัดๆ ว่าไอ้คำว่า “รบกวน” นั้นรบกวนอย่างไร รบกวนแค่ไหน และรุนแรงแค่ไหนถึงขั้นต้องกดปุ่ม Power off ให้มันจบๆ ไป     KT Review กรุงเทพธุรกิจไอที มีคำอธิบายชัดๆ ที่จะไขข้อสงสัยว่า จริงๆ แล้ว เราจำเป็นต้องปิดมือถือหรือไม่ ทำไมถึงต้องปิด แล้วถ้ายังแอบเนียนไม่ปิด อาจส่งผลอะไรต่อความปลอดภัยของทุกคนบนเครื่องบิน     ปิดเครื่อง เรื่องใหญ่  …

30 ปีที่ผ่านมา “ระบบรักษาความปลอดภัย” (Security) พัฒนาไปไกลแค่ไหน?

Loading

  ปัญจะ คล้ายโพธิ์ทอง กรรมการผู้จัดการบริษัท คอมม์เอ็กซ์เพรซ(ประเทศไทย) จำกัด ระบุภายในงาน Security Transformation Challenge : CE Day 2022 ซึ่งเกี่ยวกับระบบรักษาความปลอดภัยที่เราจำเป็นต้องใช้ในการดำรงชีวิตในยุคดิจิทัลในอนาคต   ในอดีตเรามักพูดถึงความท้าทายต่าง ๆ ในด้านของเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป แต่ว่าวันนี้เราจะมาพูดถึงความเปลี่ยนแปลงด้านความปลอดภัย(Security) ตลอด 30 ปีที่ผ่านมาที่อยู่ในวงการเทคโนโลยี   คุณปัญจะ คล้ายโพธิ์ทอง ได้กล่าวถึง ความปลอดภัยด้านไซเบอร์(Cybersecurity) ถือเป็นเรื่องสำคัญ ซึ่งระบบ IoT ที่อยู่ในระบบความปลอดภัย ถึงแม้ว่าจะอัจฉริยะเพียงไหนแต่ก็ยังคงมีช่องโหว่ในการถูกโจรกรรมข้อมูลได้ ซึ่งยังไม่รวมถึงการหลอกลวงข้อมูล(Phishing) และไวรัสเรียกค่าไถ่ (Ransomware)   ซึ่งปัจจุบันกล้องวงจรปิด ก็มีเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) ที่อยู่ภายในกล้องและความสามารถในการทำงานโดยที่ไม่จำเป็นต้องอาศัยมนุษย์ในการควบคุม   ซึ่งความเปลี่ยนแปลงนี้สังเกตได้จากในอดีตกล้อง 1 ตัวต้องใช้จอคอมพิวเตอร์ 1 จอในการแสดงผลซึ่งถ้าหากองค์กรใหญ่ ๆ ที่มีกล้องวงจรปิดหลายร้อย หลายพันตัว ก็จำเป็นที่ต้องมีจอแสดงผลตามจำนวนกล้อง   แต่ปัจจุบันกล้องเหล่านั้นบางตัวก็สามารถวิเคราะห์ความเคลื่อนไหวได้ด้วยตัวเอง จึงไม่จำเป็นต้องให้มนุษย์มาจ้องมองอยู่ตลอด ดังนั้นหากสามารถใช้เทคโนโลยีต่างๆเข้ามามีส่วนในการทำงานและป้องกันความปลอดภัยก็เป็นเรื่องที่สำคัญ…