รัฐบาลดิจิทัล (9) “เก็บ” ครั้งเดียวก็เกินพอ

Loading

  ทำไมต้องเอาสำเนาเอกสารราชการ ไปให้หน่วยงานรัฐที่เราไปติดต่อด้วย ทั้งๆ ที่เป็นเอกสารของราชการเอง แถมยังต้อง “ทำและรับรอง” สำเนาเท่ากับจำนวน “คำขอ” ที่เราจะยื่นอีก   หน่วยงานแห่งนั้นน่าจะยังไม่ได้ใช้ระบบไอที ทำให้แต่ละ “คำขอ” ต้องแนบเอกสารให้ครบจบในชุดเดียว จึงจะพิจารณาได้โดยไม่ต้องไปเปิดค้นเอกสารที่อื่นอีก ประชาชน“คนเดียว”มาติดต่อหลายเรื่องก็ต้องทำเป็น “หลายคำขอ”และสำเนาเอกสารแยกกัน   นี่เป็นการมองราชการเป็นศูนย์กลาง ถ้าหากมอง ประชาชนเป็นศูนย์กลาง (Citizen Centric) แล้ว ประชาชนหนึ่งคน จะยื่นกี่คำขอก็ต้องถือเป็นเรื่องเดียวกันถ้ายื่นพร้อมกัน   ส่วนการรับรองสำเนา น่าจะเกิดจากการที่หน่วยงานรัฐไม่สามารถตรวจสอบ “ความจริงแท้” ของเอกสารสำเนาได้ จึงต้องให้นำทั้งเอกสาร “ตัวจริง”มาแสดง พร้อมกับ “ลงนาม” รับรองสำเนาถูกต้อง ถือว่า ประชาชนเป็นผู้รับผิดชอบในเอกสารต่างๆ ที่ยื่นเข้ามา หากปลอมแปลงหรือเป็นเท็จ ก็มีฐานทางกฎหมายที่จะปฏิเสธการอนุญาตหรืออาจดำเนินคดีตามกฎหมายต่อไปได้   อย่างไรก็ตาม การตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารนั้น ที่จริงแล้ว เป็นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่รัฐผู้รับเรื่อง พ.ร.บ. วิ อิเล็กทรอนิกส์ จึงให้เจ้าหน้าที่ต้องเป็นคนทำสำเนาและลงนามรับรองเอกสารเอง ไม่ใช่ประชาชนผู้ยื่นเรื่องอีกต่อไป   หลักการ “การจัดเก็บข้อมูลเพียงครั้งเดียว”…

รัฐบาลดิจิทัล (8) : เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นยกเว้น

Loading

การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Government Data) เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิรูประบบราชการไปสู่การเป็น “รัฐบาลเปิด” (Open Government) เพื่อให้เกิดความโปร่งใส และสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน สามารถตรวจสอบการทำงานของภาครัฐ รวมถึงร่วมกำหนดนโยบายสาธารณะ

รัฐบาลดิจิทัล (7) : ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ

Loading

ลองสมมติว่าตัวเองเป็นรัฐมนตรีของสักกระทรวงหนึ่ง วันแรกที่เข้าไปทำงาน อาจจะได้รายงานต่างๆ มาดูบ้าง แต่ถ้าอยากได้ข้อมูลเพิ่มเติม ก็ต้องไปรวบรวมมาจากกรมกองต่างๆ กว่าจะได้ข้อมูลมาใช้ในการตัดสินใจ

รัฐบาลดิจิทัล (6) : สำนักงาน ‘น้อย’ กระดาษ

Loading

แฟ้มเอกสารกองโตบนโต๊ะ ตู้เอกสารเต็มทางเดินสำนักงาน นี่คือภาพที่ชินตาเวลาไปหน่วยงานของรัฐ ไม่นับพื้นที่เช่าคลังเก็บเอกสารอีกมากมายที่เรามองไม่เห็น คำถามคือเมื่อไร่ ภาครัฐจะเลิกใช้เอกสารกระดาษได้สักที

รัฐบาลดิจิทัล (5) : ไหนใครว่า “ติดระเบียบ” นะ

Loading

งานบริการของภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาอนุญาตมีอยู่ประมาณ 3,830 บริการ สามารถพัฒนาเป็นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ได้ 2,420 บริการ ณ กลางปี 2566 สามารถให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ได้แล้วประมาณร้อยละ 60

ไมโครซอฟท์ ร่วมกับ LinkedIn เจาะลึกพฤติกรรมการใช้ AI คนทำงาน ผ่านรายงาน Work Trend Index ฉบับปี 2024

Loading

ไมโครซอฟท์ ร่วมกับ LinkedIn เจาะลึกพฤติกรรมการใช้ AI คนทำงาน ผ่านรายงาน Work Trend Index ฉบับปี 2024 ในประเทศไทยและทั่วโลก ในการนำนวัตกรรม AI มาใช้ในที่ทำงาน