‘Dark Zomia’ ดินแดนเทือกเขาตามชายแดนเมียนมา พื้นที่ทุนจีนเทา พนันใต้ดิน และสแกมเมอร์

Loading

เหนือระดับความสูง 300 เมตร พาดผ่านเวียดนาม กัมพูชา ลาว ไทย เมียนมา และ 4 มณฑลของจีน – ยูนนาน กุ้ยโจว กว่างซี และบางส่วนของเสฉวน – มีดินแดนแห่งเทือกเขาที่เรียกว่า ‘โซเมีย’ (Zomia)

ตลาดหนังสือเก่า “บูกีนิสต์” น้ำผึ้งหยดเดียวในโอลิมปิก2024

Loading

นับถอยหลังอีกเพียงเดือนเศษ ก็สิ้นสุดการรอคอยกับมหกรรมกีฬาแห่งมวลมนุษยชาติ “โอลิมปิกฤดูร้อน 2024” ที่จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 26 ก.ค.ถึง 11 ส.ค. ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

ธุรกิจ 62% ยอมรับ ‘มีช่องโหว่’ ระบบกันภัย ‘สำนักงานใหญ่ – สาขา’

Loading

  การศึกษาล่าสุดโดย “แคสเปอร์สกี้” เผย ธุรกิจที่มีสาขาอยู่ทั่วโลกกว่า 62% พบว่า องค์กรมีช่องโหว่ จากความแตกต่างกันในระดับความแข็งแรงของการป้องกันทางไซเบอร์   บริษัท 48% ยอมรับว่ามีปัญหานี้ แต่ไม่ได้มองว่าเป็นเรื่องวิกฤติ บริษัท 14% ระบุว่า สาขาของตนนั้นต้องการมาตรการด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์เพิ่มเติม   ผู้เชี่ยวชาญของแคสเปอร์สกี้เตือนธุรกิจที่มีหลายสาขาว่า ความแตกต่างกันดังกล่าวอาจส่งผลต่อความปลอดภัยขององค์กรทั้งหมด   62% ยอมรับว่า ‘มีช่องโหว่’ แคสเปอร์สกี้เผยถึงข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับปัญหาด้านความปลอดภัยของเครือข่ายและข้อมูลที่บริษัทเหล่านี้ต้องเผชิญโดยระบุว่า มีบริษัทที่ตอบแบบสอบถามเพียง 38% เท่านั้น ที่มั่นใจว่าระบบป้องกันภัยคุกคามทางไซเบอร์ของบริษัทสาขามีประสิทธิภาพเท่ากับในสำนักงานใหญ่   ขณะที่ บริษัท 62% ยอมรับว่ามีช่องโหว่ด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ระหว่างสำนักงานใหญ่กับสาขา โดยแบ่งเป็นบริษัท 48% เห็นว่ามีปัญหาแต่ไม่ได้รุนแรง บริษัทเหล่านี้เชื่อว่าสาขาส่วนใหญ่ได้รับการป้องกันที่ดี   บริษัท 13% มองว่าปัญหานี้ค่อนข้างน่าเป็นห่วง โดยคิดว่ามีเพียงไม่กี่สาขาที่ได้รับการป้องกันอย่างเพียงพอ บริษัท 1% ระบุว่า ไม่มีสาขาใดเลยที่ได้รับการรักษาความปลอดภัยอย่างแท้จริง   นอกเหนือจากข้อจำกัดด้านงบประมาณ เหตุผลประการหนึ่งที่ทำให้การป้องกันไซเบอร์มีความเหลื่อมล้ำ คือการขาดความเชื่อมั่นในความเชี่ยวชาญของพนักงานประจำสาขา   รายงานพบว่าบริษัท 37%…

พบการโจมตีอุปกรณ์ OT ‘สาธารณูปโภค’ เพิ่มขึ้นอย่างมาก

Loading

  การโจมตีทางไซเบอร์ยังคงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและไม่มีทีท่าจะหมดลงได้ง่ายๆ   ล่าสุดมีการเปิดเผยจาก ไมโครซอฟท์ว่า มีการโจมตีทางไซเบอร์เพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยกำหนดเป้าหมายหลักๆ ไปที่เทคโนโลยีเชิงปฏิบัติงาน OT (Operational Technology) ที่มีความปลอดภัยค่อนข้างต่ำ   โดยการโจมตีเหล่านี้เน้นไปที่ระบบน้ำและน้ำเสีย WWS (Water and Wastewater Systems) ของสหรัฐเป็นพิเศษ   นอกจากนี้เหล่าบรรดาแฮกเกอร์ที่ได้รับการสนับสนุนจากประเทศต่างๆ รวมถึงกลุ่ม CyberAv3ngers ในเครือกองกำลังพิทักษ์การปฏิวัติอิสลาม IRGC (Islamic Revolutionary Guard Corps) อิหร่าน และกลุ่ม hacktivists รัสเซีย ก็มีส่วนเกี่ยวข้องในการโจมตีเหล่านี้ด้วย   ช่องโหว่ของระบบ OT ระบบ OT ควบคุมกระบวนการที่สำคัญมีการใช้งานแพร่หลายในอุตสาหกรรมต่างๆ รวมถึงการสร้างระบบสาธารณูปโภคหลักๆ ไม่ว่าจะเป็นโรงงานผลิตประปา และโรงงานไฟฟ้า ระบบเหล่านี้ทำหน้าที่จัดการพารามิเตอร์ที่สำคัญเช่น ความเร็วและอุณหภูมิในกระบวนการทางอุตสาหกรรม   โดยการโจมตีทางไซเบอร์ในระบบ OT สามารถถ่ายโอนการควบคุมพารามิเตอร์เหล่านี้ไปยังผู้โจมตีซึ่งอาจทำให้ระบบทำงานผิดปกติหรือขัดข้องโดยสมบูรณ์   ตามรายงานพบว่า อุปกรณ์ OT จำนวนมากเชื่อมต่อโดยตรงกับอินเทอร์เน็ตทำให้แฮ็กเกอร์ใช้เครื่องมือสแกนอินเทอร์เน็ตซึ่งตรวจพบได้ง่ายมาก…

ย้อนรอย ‘วิกิลีกส์’ เว็บจอมแฉ แพร่เอกสารลับช็อกโลก

Loading

คดีความระหว่างรัฐบาลสหรัฐฯ กับ จูเลียน อัสซานจ์ ผู้ก่อตั้งเว็บไซต์จอมแฉ ‘วิกิลีกส์’ มาถึงจุดสิ้นสุดแล้วในสัปดาห์นี้ เมื่อนายอัสซานจ์ยอมตกลงขึ้นศาลรับผิดข้อหาจารกรรมข้อมูล และกับการไม่ต้องถูกจำคุกเพิ่มเติม และสามารถกลับบ้านเกิดที่ออสเตรเลียได้

“สนามแม่เหล็กดวงอาทิตย์สลับขั้ว” กำลังจะเกิด! มันคืออะไรและมีผลอย่างไร?

Loading

นักวิทย์คาดช่วงปี 2024-2026 จะเกิดปรากฏการณ์ “สนามแม่เหล็กดวงอาทิตย์สลับขั้ว” ซึ่งจะเกิดขึ้นราวทุก ๆ 11 ปี แต่มันคืออะไรและมีอันตรายหรือไม่?