ป้องกัน! อาชญากรจากโลกออนไลน์ด้วย AI Cybersecurity

Loading

  SHORT CUT •  เทคโนโลยี Machine Learning และ การเรียนรู้เชิงลึก ในระบบปัญญาประดิษฐ์สามารถทำให้ตัวมันเองเรียนรู้ซ้ำๆ ผ่านการโจมตี •  พัฒนาระบบตรวจจับภัยคุกคามขั้นสูง ระบบเหล่านี้สามารถจดจำและวิเคราะห์รูปแบบการโจมตีใหม่ๆ ที่ซับซ้อนได้ •  ระบบ AI จะมีประสิทธิภาพสูงสุด จำเป็นที่จะต้องมีการลงทุนในส่วนของการสอนและฝึกอบรมบุคลากร ให้มีความเชี่ยวชาญมากพอ   ภัยจากโลกออนไลน์ในตอนนี้ เรียกได้ว่าเป็นสิ่งที่ทุกคนน่าจะเคยพบเจอกันมาเป็นอย่างดี และไม่ว่าจะองค์หรือตัวบุคคลก็ต้องทำเรียนรู้การป้องกัน การดำเนินงานของตัวเองจากภัยคุกคามทางไซเบอร์   การเข้ามาของเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์หรือ AI ในช่วงที่ผ่านมาให้เข้ากับเทคโนโลยีอื่นๆ นั้นได้กลายเป็นเครื่องอันทรงพลังที่พลิกโฉมประวัติศาสตร์โดยสิ้นเชิง รวมไปถึงในวงการความปลอดภัยทางไซเบอร์ด้วย และ AI ยกระดับประสิทธิภาพและนวัตกรรมที่ไม่เคยมีมาก่อนมาสู่การป้องกันภัยคุกคามทางไซเบอร์   พัฒนาการของ AI ในโลกของ Cybersecurity เทคโนโลยี Machine Learning และ การเรียนรู้เชิงลึก (Deep Learning) ในระบบปัญญาประดิษฐ์สามารถทำให้ตัวมันเองเรียนรู้ซ้ำๆ ผ่านข้อมูลจำนวนมหาศาล ทำงานได้รวดเร็ว ซึ่งส่งผลให้เทคโนโลยีด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์มีพัฒนาการด้านความเร็ว ความแม่นยำของการตรวจจับภัยคุกคาม การตอบสนอง และการบรรเทาผลกระทบเพิ่มขึ้นมากอย่างก้าวกระโดด  …

IT & gadget ฉุดไม่อยู่! ไทยเบอร์ 1 อาเซียน ถูกโจมตีโดย ‘แรนซัมแวร์’

Loading

แคสเปอร์สกี้ รายงานว่า สามารถบล็อกเหตุการณ์โจมตีในไทยได้มากถึง 109,315 รายการ รองลงมาคืออินโดนีเซีย 97,226 รายการ เวียดนาม 59,837 รายการ ฟิลิปปินส์ 15,312 รายการ มาเลเซีย 4,982 รายการ และสิงคโปร์ 741 รายการ

ระบบ ESTA คืออะไร ทำไมญี่ปุ่นเตรียมนำมาใช้ลงทะเบียนนักท่องเที่ยวก่อนเดินทาง

Loading

เมื่อเร็ว ๆ นี้ รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศเตรียมเปิดระบบ ESTA ให้นักท่องเที่ยวต่างชาติลงทะเบียนแจ้งรายละเอียดกิจกรรม และที่พัก ก่อนการเดินทาง ซึ่งระบบ ESTA คืออะไร ส่งผลอย่างไรต่อนักท่องเที่ยวไทยบ้าง

เปิดประวัติ “แก๊งยามากุจิ” แก๊งยากูซ่าอันดับ 1 ของประเทศญี่ปุ่น

Loading

  รู้จัก “แก๊งยามากุจิ” องค์กรยากูซ่าเบอร์ 1 ของญี่ปุ่นที่มีประวัติยาวนานกว่า 100 ปี มีผู้สืบทอดมาแล้วถึง 6 รุ่น!   จากกรณีคดีฆ่าหั่นศพชายชาวญี่ปุ่นแล้วนำศพไปทิ้งอำพรางตามที่ต่าง ๆ ในย่านบางบัวทอง จ.นนทบุรี จนเด็ก 10 ขวบไปเจอชิ้นส่วนเข้าที่สนามเด็กเล่น ล่าสุดมีรายงานว่า ผู้ก่อเหตุซึ่งเป็นชาวญี่ปุ่น รวมถึงผู้เสียชีวิต ต่างเป็นสมาชิกของ “แก๊งยามากุจิ” องค์กรยากูซ่าอันดับ 1 ของประเทศญี่ปุ่น   แก๊งยามากุจิเป็นหนึ่งในองค์กรอาชญากรรมที่ร่ำรวยที่สุดในโลก มีรายได้หลายพันล้านดอลลาร์ต่อปีจากการขู่กรรโชก การพนัน อุตสาหกรรมทางเพศ การค้าอาวุธ การค้ายาเสพติด อสังหาริมทรัพย์ และโครงการรับสินบนจากการก่อสร้าง   AFP/YOSHIKAZU TSUNO ยามาบิชิ ตราสัญลักษณ์ของแก๊งยามากุจิ แก๊งยากูซาใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่น   นั่นทำให้แก๊งยากูซ่ากลุ่มนี้มีอิทธิพลและขนาดใหญ่ที่สุดในแดนอาทิตย์อุทัย รวมถึงยังมีประวัติค่อนข้างเก่าแก่ เพราะอยู่มาแล้วนานกว่า 100 ปี และมีผู้นำสืบทอดมาถึง 6 รุ่น   แก๊งยามากุจิ หรือยามากุจิกุมิ (山口組)…

เลขา สกมช. ตั้งข้อสังเกตุ หลอกลวงผ่านโซเชียล ทำไมแพลตฟอร์มไม่ช่วยป้องกัน ?

Loading

  SHORT CUT •  เลขา สกมช. ตั้งข้อสงสัย ทำไมแพลตฟอร์มโซเชียล ยอมให้โฆษณาหลอกลวงผ่านการตรวจสอบทั้งที่ในต่างประเทศแพลตฟอร์มเดียวกันกลับมีกฎเกณฑ์ที่ดีกว่า •  ออสเตรเลียเคยฟ้องร้องเป็นตัวอย่างแล้ว ทั้งจากภาครัฐและคนดังที่ถูกแอบอ้าง •  ต่างประเทศมองว่าการที่แพลตฟอร์มสื่อสังคมออนไลน์อนุญาตให้โฆษณาหลอกลวงผ่านการตรวจสอบ เท่ากับว่า แพลตฟอร์มมีส่วนรู้เห็นมาหลอกประชาชน   เลขา สกมช. ตั้งข้อสังเกตุ การหลอกลวงผ่านโซเชียล ทั้งเพจปลอมและการหลอกลงทุน ทำไมแพลตฟอร์มไม่ช่วยป้องกันก่อนเกิดเหตุ ?   พลอากาศตรี อมร ชมเชย เลขาธิการคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (สกมช.) ตั้งข้อสังเกตุกับผู้สื่อข่าวหลังการแถลงข่าวการลงนามในบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ ยกระดับการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางไซเบอร์ และให้ความรู้แก่ประชาชนไม่ให้ตกเป็นเหยื่อภัยออนไลน์ ระหว่าง สกมช. และ สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (สำนักงาน กสทช.) ถึงกรณีการป้องกันและปราบปรามภัยไซเบอร์จากการหลอกลวงกันทางโซเชียลมีเดีย   พลอากาศตรี อมร ตั้งข้อสังเกตุว่า การป้องกันและปรายปรามการหลอกลวงปัจจุบันทำได้ช้า ใช้เวลาเกือบ 2 สัปดาห์ในการดำเนินการจากฝั่งแพลตฟอร์ม ซึ่งการหลอกลวงเหล่านี้ ทั้งการโฆษณาหลอกลงทุนผ่านสื่อสังคมออนไลน์โดยการใช้รูปคนดัง , การตั้งเพจปลอมที่มีชื่อเหมือนหน่วยงานราชการ เช่น…

กูรู แนะ เทคนิค กันภัย ‘ฟิชชิง’ จู่โจมองค์กร

Loading

  ปัจจุบัน อาชญากรไซเบอร์มักหลอกล่อให้ผู้ใช้งานวางใจและขโมยข้อมูลที่มีความสำคัญอย่างมากเพื่อวัตถุประสงค์ที่ชั่วร้าย เช่นเดียวกับในประเทศไทยที่ได้เห็นว่า การหลอกลวงทางโทรศัพท์กลายเป็นเรื่องปกติไปแล้ว   การโจมตีแบบ “ฟิชชิง (Phishing)” กลายเป็นภัยร้ายในยุคดิจิทัล…   บรรดาผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก กล่าวในรายงาน “CyberArk Identity Security” โดย “ไซเบอร์อาร์ก” ผู้ให้บริการด้านไซเบอร์ซิเคียวริตี้ชั้นนำว่า มัลแวร์ที่ขับเคลื่อนด้วย AI เป็นความเสี่ยงลำดับอันดับต้นๆ ที่พบในองค์กรในปี 2566   ลิ้ม เทค วี รองประธานประจำภูมิภาคอาเซียน ไซเบอร์อาร์ก เผยว่า ประเด็นหนึ่งที่กังวลก็คือ มีการใช้ประโยชน์จากช่องโหว่ในแชทบอทเพื่อโจมตีแบบฟิชชิง รวมถึงในปีนี้องค์กรเกือบทั้งหมด หรือกว่า 99.9% อาจพบกับความเสี่ยงด้านความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล   สาเหตุสำคัญเป็นผลมาจากการนำเทคโนโลยีคลาวด์มาใช้มากขึ้น ปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์ และการลดค่าใช้จ่ายเนื่องมาจากเศรษฐกิจที่ถดถอย   สิ่งที่กำลังเกิดขึ้นนับว่าเป็นเรื่องที่น่ากังวล องค์กรจึงต้องรีบดำเนินการก่อนที่ทุกอย่างจะสายเกินไป โดยเฉพาะเรื่องของการวางกลยุทธ์ เทคนิค และขั้นตอนที่สามารถใช้งานได้จริง ซึ่งถือเป็นสิ่งสำคัญในการสร้างเกราะป้องกันฟิชชิงที่มีประสิทธิภาพสูงสุด   สำหรับ “วิธีที่ดีที่สุดในการป้องกันการฟิชชิงแบบทั่วไป” ทีมรักษาความปลอดภัยไม่สามารถพึ่งพาแค่กลยุทธ์เดียวได้ ด้วยผู้โจมตีสามารถหาวิธีหลบหลีก ดังนั้นจึงต้อง “ใช้แนวทางแบบเป็น…