ไวรัสสอดแนมผ่านโฆษณาบนเว็บ ภัยเงียบที่เราไม่รู้ตัว แถมขายให้รัฐบาลด้วย

Loading

Techcrunch เว็บไซต์ข่าวด้านเทคโนโลยี รายงานว่า Spyware หรือไวรัสสอดแนมที่ถูกออกแบบมาเพื่อบันทึกพฤติกรรมต่าง ๆ ของเราบนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ สามารถถูกฝังผ่านโฆษณาแบบ Banner บนเว็บไซต์ต่าง ๆ ได้ โดยที่ผู้ใช้ไม่รู้ตัว

วิเคราะห์อนาคตเมืองสแกมเมอร์ทุนจีนในเมียวดี ทำไมยังอาจรอดปลอดภัยท่ามกลางไฟสงคราม

Loading

พ.อ.ชิต ตุ ผู้นำกองกำลังกะเหรี่ยงแห่งชาติหรือเคเอ็นเอ (Karen National Army-KNA) ซึ่งเคยเป็นกองกำลังพิทักษ์ชายแดนกะเหรี่ยงหรือกะเหรี่ยงบีจีเอฟ (Karen Border Guard Force-Karen BGF) ให้กับกองทัพเมียนมาเพื่อดูแลรักษาพื้นที่ชายแดนรัฐกะเหรี่ยงที่อยู่ติดกับชายแดนไทย กำลังเป็นตัวแปรสำคัญในสนามประลองยุทธ์ในเมืองเมียวดี ซึ่งมีการปะทะกันระหว่างกองกำลังฝ่ายต่อต้านที่นำโดยสหภาพกะเหรี่ยงแห่งชาติหรือเคเอ็นยู (Karen National Union-KNU) และกองทัพเมียนมา

‘ดีอี’ ขันน็อตเร่งปราบไซเบอร์ร่าย 6 มาตรการหลัง ‘เศรษฐา’ ออกโรงจี้

Loading

นายประเสริฐ จันทรรวงทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม หรือ ดีอี เปิดเผยหลังการประชุมคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมออนไลน์ทางเทคโนโลยี และผู้แทนจากสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (สตช.) สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) สมาคมธนาคารไทย สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ปปง.) กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) มาหารือร่วมกันเป็นครั้งที่ 2 ในเดือนเมษายนนี้

เกิดอะไรในเมียวดี? สรุปเหตุกะเหรี่ยง KNU ปะทะเดือดทหารเมียนมา ทำผู้อพยพนับพันทะลักเข้าไทย

Loading

การสู้รบระหว่างกลุ่มกะเหรี่ยง KNU กับกองทัพเมียนมาในเมืองเมียวดี ติดกับชายแดนอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ทวีความตึงเครียดในช่วงปลายสัปดาห์ที่ผ่านมา หลังกองกำลังติดอาวุธ KNLA ของกลุ่มกะเหรี่ยง KNU เปิดฉากใช้เครื่องยิงลูกระเบิดและโดรนโจมตีทหารกองพัน 275 ราว 150 คน ซึ่งปักหลักอยู่บริเวณใต้สะพานมิตรภาพไทย-เมียนมาแห่งที่ 2 โดยเกิดการปะทะรุนแรงตั้งแต่คืนวันศุกร์ที่ผ่านมา (19 เมษายน) มีเสียงปืนและระเบิดดังเป็นระยะ ขณะที่กองทัพเมียนมาส่งเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิดโจมตีในพื้นที่หลายระลอก

‘XDR’ ปกป้องช่องโหว่เครือข่าย !!??

Loading

ช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา ต้องยอมรับว่าเครือข่ายขององค์กรต่างๆ มีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่เกิดขึ้น บวกกับข้อมูลและแอปพลิเคชันที่มีอยู่ทั่วโลก ครอบคลุมโครงสร้างพื้นฐานที่ซับซ้อนแบบมัลติคลาวด์ (multi-cloud) การติดตั้งใช้งานเองภายในองค์กร (on-premises) และแบบเดิมที่ผู้ใช้เข้าถึงได้ด้วยมือถือและการรีโมท

อาชญากรรมออนไลน์ยังชุก ภัยร้ายที่รัฐบาลต้องเร่งแก้!!

Loading

แม้ว่าหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้ง กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี) และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จะเร่งแก้ปัญหา แต่ดูเหมือนว่ายังไม่เป็นที่พอใจของผู้นำรัฐบาล ที่ชื่อ “เศรษฐา ทวีสิน” นายกรัฐมนตรี และ รมว.คลัง ต้องออกมาบัญชาการ ขีดเส้นในการแก้ปัญหาอาชญากรรมออนไลน์ ให้มีผลงานชัดเจนใน 30 วัน!!