พลวัตสงครามเมียนมาต่อไทย

Loading

สถานการณ์สงครามกลางเมืองในเมียนมา เป็นหนึ่งในปัญหาความมั่นคงไทยที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ และเป็นหนึ่งในประเด็นที่ถูกตั้งคำถามอย่างมากว่า “ไทยจะเอาอย่างไรกับปัญหาสงครามในเมียนมา?” … จนถึงวันนี้ เรายังไม่เห็นสิ่งที่เป็นข้อสรุปจากข้อถกแถลงในระดับนโยบาย ที่ใช้เป็นทิศทางบ่งบอกถึง “ท่าที-จุดยืน” ของประเทศไทยต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในเมียนมาแต่อย่างใด

สหรัฐฯ ไฟเขียวผู้อพยพเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายซื้ออาวุธปืนได้อย่างอิสระ จริงหรือไม่

Loading

เมื่อไม่นานมานี้ มีรายงานข่าวว่า สำนักงานกำกับดูแลแอลกอฮอล์ ยาสูบ อาวุธปืนและวัตถุระเบิด (Bureau of Alcohol, Tobacco, Firearms and Explosives – ATF) ซึ่งอยู่ใต้กระทรวงยุติธรรมสหรัฐฯ ปรับปรุงนโยบายการตรวจสอบประวัติของผู้ที่ต้องการเป็นเจ้าของอาวุธปืนในสหรัฐฯ โดยถูกกฎหมายที่มีการอ้างว่า เปิดทางให้แม้แต่ผู้ที่อพยพเข้ามาอยู่ในประเทศอย่างผิดกฎหมายซื้อปืนได้แล้ว

BRN เตรียมตัวอย่างไร ก่อนโดดร่วมโต๊ะถกรัฐไทย “พูดคุยสันติสุข”

Loading

คำเตือนสำคัญจาก อาจารย์สุรชาติ บำรุงสุข นักวิชาการด้านความมั่นคงชื่อก้อง ที่ออกมากระตุกเตือนการเร่งเดินหน้าพูดคุยสันติสุขกับบีอาร์เอ็น มี 3 เรื่องที่เป็นแก่นแกนสำคัญ

ผลการพูดคุย สันติภาพปาตานี/สันติสุขชายแดนใต้ ล่าสุด ปัญหาและทางออก

Loading

หลังจากมีการแจ้งผลการพูดคุยสันติภาพปาตานี/สันติสุขชายแดนใต้เต็มคณะ ครั้งที่ 7 ระหว่างวันที่ 6-7 กุมภาพันธ์ 2567 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ปรากฏว่ามีการออกมาคัดค้านเสียงดังผ่านสื่อส่วนกลางในเอกสารร่างสุดท้ายตามแผนที่สื่อมวลชนเรียกสั้นๆ ว่า JCPP หรือชื่อทางวิชาการคือ แผนปฏิบัติการร่วมเพื่อสันติภาพ/สันติสุขแบบองค์รวม (Joint Comprehensive Plan Towards Peace – JCPP)

23 ก.พ. 2477 หลวงพิบูลสงคราม ถูกลอบสังหารเป็นครั้งแรก ท่านรอดตายเหมือนปาฏิหาริย์?

Loading

  จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในโรงพยาบาลพระมงกุฎฯ หลังเหตุการณ์ลอบสังหาร พ.ศ. 2477   ในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2477 ได้เกิดเหตุการณ์ที่ พ.อ. หลวงพิบูลสงคราม หรือท่าน จอมพล ป. ถูกลอบสังหารเป็นครั้งแรกในรถยนต์ส่วนตัว ซึ่งจะทำให้ถึงแก่ชีวิต แต่ท่านรอดตายเหมือนปาฏิหาริย์ เรื่องนี้มีบันทึกไว้ใน หนังสืออนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม ณ เมรุวัดธาตุทอง 14 สิงหาคม พ.ศ. 2527 ซึ่ง พลตรี อนันต์ พิบูลสงคราม บุตรชายของจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นผู้ให้รายละเอียดไว้   พล.ต.อนันต์ พิบูลสงคราม ได้บันทึกไว้ว่า   วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2477   กรุงเทพพระมหานครมีสนามสาธารณะเพียง 2 แห่งเท่านั้น ที่คนไทยทุกเพศทุกวัยอาจใช้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจได้ตามความพอใจ คือที่สวนลุมพินีแห่งหนึ่ง…