รู้จัก “โรงไฟฟ้าชีวมวล” เป้าจุดชนวนระเบิดที่ชายแดนใต้
“โรงไฟฟ้าชีวมวล” เป็นสิ่งปลูกสร้างในรูปแบบของ “โรงงาน” ที่ผุดขึ้นหลายแห่งในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ คล้ายคลึงกับจังหวัดอื่นๆ ในเกือบทุกภาคของประเทศไทย
“โรงไฟฟ้าชีวมวล” เป็นสิ่งปลูกสร้างในรูปแบบของ “โรงงาน” ที่ผุดขึ้นหลายแห่งในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ คล้ายคลึงกับจังหวัดอื่นๆ ในเกือบทุกภาคของประเทศไทย
“ฮิตเลอร์ไม่ยอมเล่นตามกติกา แต่เราก็เหมือนกัน” คือบทสนทนาสำคัญที่อยู่ในตอนหนึ่งของตัวอย่างหนังแอ็กชันสุดระห่ำเรื่องใหม่ The Ministry of Ungentlemanly Warfare ที่ชวนให้รู้สึกสนุกและพลอยตื่นเต้นไปกับผลงานเรื่องใหม่ของผู้กำกับฝีมือดีอย่าง กาย ริตชี (Guy Ritchie) ด้วย เพียงแต่สิ่งที่จะถูกบอกเล่าลงบนแผ่นฟิล์มนั้น เป็นเพียงแค่เสี้ยวหนึ่งเท่านั้นของเรื่องราวทั้งหมดที่เกิดขึ้นจริงในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 The Special Operation Executive (SOE) หน่วยปฏิบัติการลับที่จัดตั้งโดย วินสตัน เชอร์ชิลล์ นายกรัฐมนตรีอังกฤษ มีเรื่องราวและบทบาทที่พวกเขาทำมากกว่าที่จะได้เห็นในหนังมากมายนัก กำเนิด SOE ในขณะที่ กาย ริตชี พาทุกคนเข้าไปสู่ช่วงเวลาของสงครามโลกครั้งที่ 2 ในการต่อสู้กันด้วยทุกสิ่งทุกอย่างที่มีระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรกับฝ่ายอักษะ โดยนำส่วนหนึ่งของปฏิบัติการของหน่วย SOE ที่ต้องทำลายเรือดำน้ำของกองทัพนาซีให้ได้ “โดยปราศจากความช่วยเหลือจากกองทัพ” มาบอกเล่าผ่านตัวละครนำอย่าง กัส มาร์ช-ฟิลลิปส์ (Gus March-Phillips) ที่นำแสดงโดย เฮนรี แควิลล์ (Henry Cavill)…
การประท้วงหนุนปาเลสไตน์ ต่อต้านสงครามอิสราเอล ปะทุขึ้นตามมหาวิทยาลัยและสถาบันต่างๆ ทั่วสหรัฐฯ ในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา จนเกิดการปะทะกับตำรวจและผู้ประท้วงฝ่ายตรงข้าม มีผู้ถูกจับกุมตัวจำนวนมาก ผู้บริหารมหาวิทยาลัยพยายามหาทางคลี่คลายสถานการณ์ แต่ส่วนใหญ่ไม่ประสบความสำเร็จ
เป็นที่จับตามองเป็นอย่างมาก เมื่อรัฐบาลทหารเมียนมาประกาศย้าย นางอองซาน ซูจี อดีตผู้นำพลเรือน รวมทั้ง อดีตประธานาธิบดี อู วินมิ้น ออกจากเรือนจำไปกักบริเวณในสถานที่ปลอดภัยอื่นแทน โดยให้เหตุผลเรื่องความเป็นห่วงสุขภาพของทั้งสองคน เนื่องจากสภาพอากาศที่ร้อนจัดในช่วงเวลานี้ แต่หลายฝ่ายก็มองว่าความเคลื่อนไหวครั้งนี้อาจจะเป็นเพียงการเดินเกมบางอย่างของรัฐบาลทหารของเมียนมาหรือไม่
ภารกิจหลักของ ฉก.ราชมนู ประกอบด้วย การป้องกันและรักษาอธิปไตยไทย การเฝ้าระวังเหตุการณ์ชายแดน การป้องกันชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน การป้องกันการลักลอบเข้าเมือง การปราบปรามการค้าอาวุธ ยาเสพติด และสินค้าผิดกฎหมาย รวมถึงการสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่
ในขณะที่ตะวันออกกลางกำลังร้อนระอุ อีกฟากฝั่งหนึ่งในทะเลจีนใต้ก็คุกรุ่นไม่แพ้กัน เมื่อกองทัพบกสหรัฐอเมริกาภาคพื้นแปซิฟิก (US Army Pacific) ประกาศผ่านเว็บไซต์ทางการว่า กองทัพประสบความสำเร็จในการติดตั้งระบบขีปนาวุธพิสัยกลาง (Mid-Range Capability: MRC) หรือที่รู้จักกันในชื่อระบบไทฟอน (Typhon Weapons System) บนเกาะลูซอนทางตอนเหนือของประเทศฟิลิปปินส์ โดยเป็นส่วนหนึ่งของการฝึกซ้อมทางทหารประจำปีระหว่างกองทัพบกฟิลิปปินส์กับกองทัพบกสหรัฐฯ ภาคพื้นแปซิฟิก การซ้อมรบร่วมดังกล่าวเปิดฉากขึ้นเมื่อวันที่ 8 เมษายน โดยใช้ชื่อปฏิบัติการว่า Salaknib แถลงการณ์ของกองทัพบกสหรัฐฯ ภาคพื้นแปซิฟิก เมื่อวันที่ 15 เมษายน ระบุว่า หน่วยปฏิบัติการเฉพาะกิจ 1st Multi-Domain Task Force ได้เคลื่อนย้ายระบบขีปนาวุธพิสัยกลาง MRC โดยเครื่องบิน C-17 Globemaster ใช้เวลาเดินทางกว่า 15 ชั่วโมง รวมระยะทางมากกว่า 8,000 ไมล์ จากฐานทัพร่วม Joint Base Lewis-McChord ในรัฐวอชิงตัน มาถึงประเทศฟิลิปปินส์เมื่อวันที่ 11 เมษายน…
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว