ทรัมป์จะล้มเหลวในนโยบายต่อต้านการแก้ปัญหาโลกร้อน

Loading

เมื่อ 20 มกราคมที่ผ่านมา หลังพิธีสาบานตนรับตำแหน่ง ประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ ได้ลงนามในคำสั่งฝ่ายบริหารให้สหรัฐถอนตัวออกจากข้อตกลงปารีส 2015 (ข้อตกลงสหประชาชาติด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ) อีกครั้ง หลังจากที่เคยถอนออกมาแล้วรอบแรกในปี 2017

โลกออนไลน์จุดกระแสชาตินิยม เพิ่มความท้าทายการทูตแพนด้า

Loading

เว็บไซต์ซีเอ็นเอ็นรายงานว่า แพนด้า สัตว์ขนฟูหายาก น่ารักเกินต้านทานไหว เป็นที่ชื่นชอบของคนทั้งโลก แต่พลังของฮัวฮัวกลับแตกต่างไปอย่างสิ้นเชิง แต่ละวันจะมีประชาชนเพียง 30 คนเท่านั้นที่ได้รับอนุญาตให้เข้าไปชื่นชมมันในเวลาเพียงสามนาทีก่อนที่เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยมานำตัวออกไป

อเมริกา-ออสเตรเลียก็มี ‘แร่หายาก’ มาก แต่ทำไมเลิกพึ่งจีนด้านแร่ไม่ได้

Loading

    ในศึกเทคโนโลยีระหว่าง “จีน” กับ “สหรัฐ” หนึ่งในอาวุธที่จีนจะหยิบมาสู้กับกำแพงภาษี คือ “แร่หายาก” ซึ่งเป็น “วัตถุดิบที่ขาดไม่ได้” สำหรับชิป อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ จนถึงขีปนาวุธ โดยจีนครองการผลิตแร่หายากทั่วโลกถึง 70% จากเหมืองแร่ในหลายประเทศ ตามข้อมูลจาก Now-Gmbh องค์กรวิจัยของรัฐบาลเยอรมนี   อย่างไรก็ตาม ไม่ใช่เพียงจีนประเทศเดียวที่มีแร่หายาก อเมริกาก็มีเช่นกัน สูงถึง 1.8 ล้านตัน รวมถึงพันธมิตรสหรัฐอย่างออสเตรเลียก็มีถึง 5.7 ล้านตัน แต่คำถามที่น่าสนใจคือ ทำไมเหล่าชาติตะวันตกถึงยังไม่สามารถแยกขาดจากจีนด้านแร่ได้ เหตุใดยังคงพึ่งพาแร่จากจีนจนถึงปัจจุบัน พบว่ามี “3 เหตุผลหลัก” ดังนี้   1. จีนครองแร่แบบครบวงจรทั่วโลก ถึงแม้ว่าชาติอื่นมีแร่หายาก แต่การจะมีกระบวนการแปลงแร่ดิบให้ใช้งานได้กลับมีไม่ครบถ้วน ขณะที่จีนมีอย่าง “ครบวงจร” ตั้งแต่การขุด สกัด และแปรรูป แม้กระทั่งแร่หายากดิบที่ถูกขุดนอกประเทศจีน ก็มักจะต้องส่งไปแปรรูปในจีน เนื่องจากมีต้นทุนต่ำ อีกทั้งจีนมีเทคโนโลยีที่ล้ำสมัยด้วย ย้อนไปในปี 1992 ขณะเยือนเมืองเปาโถว…

Editor’s Pick เกิดอะไรขึ้นใน ‘ดีอาร์คองโก’? ความขัดแย้งทำคนพลัดถิ่นกว่า 5 ล้านคนในเดือนมกราคม

Loading

เธรีส คายิความบา วากเนอร์ (Therese Kayikwamba Wagner) รัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศของดีอาร์คองโก เปิดเผยในที่ประชุมคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ หรือ UNSC ในวันอังคารว่า จากเหตุการต่อสู้อย่างดุเดือดทางตะวันออกของประเทศ ทำให้มีคนพลัดถิ่นที่อยู่อาศัยแล้วไม่น้อยกว่า 500,000 คน และทำให้สถานการณ์ด้านมนุษยธรรมในหลายจุดเลวร้ายลง และเป็นการต่อสู้ที่เลวร้ายที่สุดในรอบกว่าสิบปีที่ผ่านมา

‘อียู’ ผลิตไฟฟ้าจาก ‘พลังงานสะอาด’ มากสุด สวนทางสหรัฐใช้ ‘เชื้อเพลิงฟอสซิล’ เป็นหลัก

Loading

    KEY               ส้ดส่วนของพลังงานหมุนเวียนอยู่ที่เป็น 47% ของการผลิตไฟฟ้าในสหภาพยุโรปเมื่อปี 2024 POINTS        ส่วนเชื้อเพลิงฟอสซิลลดลงสู่ระดับต่ำสุดในประวัติศาสตร์ คิดเป็น 29%                                 สหรัฐและจีนยังคงผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงฟอสซิลคิดเป็นเกือบ 66% ของการผลิตไฟฟ้าทั้งสองประเทศ การรุกรานยูเครนของรัสเซียกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาดในยุโรปเร็วขึ้น     ในปี 2024 เป็นปีแรกที่ “สหภาพยุโรป” สามารถผลิตไฟฟ้าจาก “พลังงานแสงอาทิตย์” ได้ถึง 11% โดยมากกว่า “ถ่านหิน” ที่ลดต่ำกว่า 10% เป็นครั้งแรก…

‘Gastrainable Tourism’ โอกาสทองของอาเซียน | ASEAN Insight

Loading

การท่องเที่ยวเชิงอาหาร (Gastronomy Tourism) ได้รับความนิยมสูงทั่วโลก โดยเฉพาะอาเซียน ซึ่งเปี่ยมไปด้วยมรดกทางวัฒนธรรมและอาหารอันหลากหลาย ดึงดูดนักท่องเที่ยวจากทั่วโลกให้มาสัมผัส ไม่เพียงแค่รสชาติอาหารอันเป็นเอกลักษณ์ แต่ยังรวมถึงวิถีชีวิตและภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สืบทอดมาอย่างยาวนาน