สังคมโลก : เสริมเขี้ยวเล็บ

Loading

ในช่วงเวลาที่กลุ่มอุตสาหกรรมและการทหารของรัฐบาลมอสโก ยุ่งอยู่กับสงครามในยูเครน อินเดียก็ให้ความสำคัญกับการปรับปรุงกองทัพให้ทันสมัยเป็นอันดับแรก ซึ่งความเร่งด่วนดังกล่าวเพิ่มขึ้นตามความตึงเครียดกับประเทศเพื่อนบ้านอย่าง “จีน” โดยเฉพาะอย่างยิ่งนับตั้งแต่การปะทะกันระหว่างกองทหารของทั้งสองฝ่าย เมื่อปี 2563

Data Journalism’ สืบจากข้อมูล เพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลง

Loading

    “ ข้อมูลทั้งหมดที่เราได้มาตอนนั้นมีจำนวน 11.5 ล้านไฟล์ ความจุรวม 2.6 เทราไบต์ มันเป็นข้อมูลที่ใหญ่มหึมามากและต้องอ่านเยอะมาก ทั้งแบบที่เป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อยและไม่ได้บอกอะไรเลย เป็นกระดาษมาแผ่นหนึ่งหรือเป็นหนังสือบริคณห์สนธิที่ยังไม่ได้บอกอะไร และเป็นตัวเลขหลายๆแผ่นที่ไม่ได้บอกความเคลื่อนไหวหรือกิจกรรมของตัวเลขนั้นว่าหมายความว่าอะไร มันเหมือนการค่อยๆไล่ต่อจิ๊กซอร์จนกว่าจะได้รายชื่อบุคคล เราจะตีความอย่างไรถ้าเรื่องมันไม่สมบูรณ์ เราจะบอกอะไรกับสังคม อะไรที่เรารายงานไปแล้วมันจะเป็นประโยชน์…การทำความเข้าใจกับข้อมูล…นี่คือสิ่งที่ยากที่สุด ”   ปรางทิพย์ ดาวเรือง นักข่าวไทยเพียงหนึ่งเดียว ที่ร่วมอยู่ในเครือข่ายผู้สื่อข่าวสืบสวนสอบสวนนานาชาติ หรือ ICIJ  เล่าถึงเบื้องหลังการตีแผ่รายงาน “ปานามา เปเปอร์ส”  รายงานข่าวสืบสวนชิ้นสำคัญบนหน้าประวัติศาสตร์ เพราะเป็นผลงานข่าวข้ามพรมแดนขององค์กรสื่อกว่า 100 องค์กรทั่วโลก จากเอกสาร “ปานามา”เอกสารลับการทำงานของบริษัทกฎหมายแห่งหนึ่งสัญชาติปานามา ที่ช่วยเหลือลูกค้ารายใหญ่ ทั้งนักการเมือง ผู้นำประเทศ และคนดังหลากหลายวงการจากทั่วโลก เพื่อฟอกเงินและหลีกเลี่ยงภาษี     ที่ผลจากรายงานข่าวชิ้นนี้ยังสร้างแรงสั่นสะเทือนไปยังวงการต่างๆ จนมีผู้นำประเทศและนักการเมืองระดับสูงต้องพ้นจากตำแหน่งไปอีกหลายราย       “ปานามา เปเปอร์ส” ถือเป็นงานข่าวโลกยุค  ‘Big Data’ ที่ถูกหยิบยกมาเป็น 1 ในหัวข้อของการอบรม เชิงปฏิบัติการ “รายงานข่าวสืบสวนด้วยข้อมูลเชิงลึก” TRAINING & WORKSHOP: DATA JOURNALISM FOR INVESTIGATIVE REPORTING  ซึ่งชมรมเครือข่ายนักสื่อสารข้อมูลเชิงลึกแห่งประเทศไทย (TDJ) สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย ร่วมกับ สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย  จัดขึ้น เมื่อวันที่ 24 – 26 มกราคม 2568  โดยมีวิทยากรและหัวข้อในการอบรมที่เจาะลึกแบบเข้มข้น ในการทำงานข่าวสืบสวนสอบสวนด้วยข้อมูลเชิงลึก…

รู้จักเมืองสแกมเมอร์ ชเว โก๊กโก่

Loading

  รู้จัก ‘ชเว โก๊กโก่’ แดนสวรรค์ของธุรกิจสีเทา เมืองกาสิโน แหล่งค้ามนุษย์ แก๊งคอลเซนเตอร์ ศูนย์กลางอาชญากรรมไซเบอร์ระดับโลก โครงการ ชเว โก๊กโก่ มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ เขตเศรษฐกิจพิเศษ ย่าไถ่ ชเว โก๊กโก่ หรือโครงการ Yatai New City ในเมืองชเว โก๊กโก่ เมียวดี รัฐกะเหรี่ยง ช่วงแรกอ้างว่ามีความเกี่ยวข้องกับโครงการแถบและเส้นทาง (Belt and Road Initiative: BRI) แต่ทางการจีนปฏิเสธอย่างเปิดเผยเมื่อปี 2020   พันเอก ซอ ชิต ตู่ หรือ หม่อง ชิต ตู่ สองผู้ปลุกปั้น ชเว โก๊กโก่ ให้กลายเป็นอาณาจักรของกลุ่มจีนเทาคือ ซอ ชิต ตู่ หรือ หม่อง ชิต ตู่ (ชื่อจริง ซัน มยิ้น) ผู้นำกองกำลังกะเหรี่ยงพิทักษ์ชายแดนพม่า…

‘จีเอเบิล’ เปิด ‘3 เมกะเทรนด์ไอที’ เปลี่ยนโฉมองค์กรไทย

Loading

ยุคที่ธุรกิจองค์กรแข่งขันกันด้วยความเร็ว เพื่อให้ได้ผลลัพธ์และผลกำไรที่มากขึ้น การลดต้นทุนและการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานที่เพิ่มขึ้น เป็นสิ่งที่เจ้าของธุรกิจรวมถึงผู้บริหารระดับสูงในธุรกิจองค์กรต่างๆ กำลังมองหา เพราะการดำเนินธุรกิจองค์กรในสถานการณ์ปัจจุบัน จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสร้าง Competitive Advantage เพื่อเป็นฐานในการสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน

“ยูเรก้า !” เมื่อนักโบราณคดีขุดพบสุสานกลางเมืองโคราช ไขปริศนาชุมชนก่อนประวัติศาสตร์แหล่งโนนพลล้าน

Loading

เมื่อปี 2567 นักโบราณคดีพบโครงกระดูก 3 โครง พร้อมกับเครื่องอุทิศจำนวนมาก หนึ่งในนั้นมีภาชนะดินเผาพิมายดำ รวมถึงเครื่องประดับทองคำด้วย ซึ่งเป็นหนึ่งในวัฒนธรรมก่อนประวัติศาสตร์ สมัยเหล็ก โดยผลจากการกำหนดอายุสมัยด้วยวิธีเรืองแสงความร้อนก็พบว่าพื้นที่นี่เป็นสุสานหรือป่าช้าฝังศพ มีอายุระหว่าง 2,400-1,500 ปีมาแล้ว ตรงกับยุคก่อนประวัติศาสตร์

Doge คืออะไร และอีลอน มัสก์ มีอิทธิพลในทำเนียบขาวมากเกินไปหรือไม่

Loading

อีลอน มัสก์ เป็นผู้นำในความพยายามปรับลดจำนวนข้าราชการลงอย่างมากครั้งนี้ รวมถึงการกำจัดสิ่งที่เขามองว่าเป็นการใช้ภาษีของประชาชนอย่างสิ้นเปลืองอย่างไรก็ตาม หน่วยงานที่เขาก่อตั้งขึ้นภายใต้ชื่อ กระทรวงประสิทธิภาพของรัฐบาล หรือ Department of Government Efficiency (Doge) [อ่านว่า “โดจ”] ต้องเผชิญกับอุปสรรคทางกฎหมาย