อาชญากรไซเบอร์ ‘ผู้หญิง’ มีอยู่ไม่น้อยกว่า 30%

Loading

    หลายคนมักจะคิดว่าเหล่าบรรดาแฮ็กเกอร์โดยส่วนใหญ่นั้นจะต้องเป็นผู้ชาย แต่ในความเป็นจริงแล้วพบว่า อาชญากรทางไซเบอร์เป็นผู้หญิงถึง 30% เป็นอย่างต่ำเลยทีเดียว   ทุกวันนี้ เราจะเห็นข่าวคดีการคุกคามทางไซเบอร์ซิเคียวริตี้มีจำนวนเพิ่มขึ้นและรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ ในทั่วทุกมุมโลก   หากพิจารณาเกี่ยวกับการก่ออาชญากรรมในทุก ๆ ประเภทของผู้หญิงแล้ว จะพบจุดที่น่าสนใจก็คือ การก่ออาชญากรรมทางไซเบอร์นั้นสูงกว่าประเภทอื่น ๆ อย่างเห็นได้ชัด   โดยเมื่อเร็ว ๆ นี้ “เทรนด์ ไมโคร (Trend Micro)” ได้ส่งทีมงานเข้าสอดแนมโดยใช้นามแฝงเพื่อเข้าใช้งานเว็บเซอร์วิสอย่าง Gender Analyzer V5 เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลโดยสุ่มผู้ใช้งานจำนวน 50 คนของ XSS forum ในภาษารัสเซีย และผู้ใช้งานจำนวน 50 คนของ Hackforums site ในภาษาอังกฤษ   พบว่าผู้ใช้งานเป็นผู้หญิงถึง 30% ของผู้ใช้ XSS forum และ 36% ของผู้ใช้งาน Hackforums และจากรายงานยังพบอีกว่า…

‘อะโดบี’ แนะกลยุทธ์ ลดความเสี่ยง ‘ยุคแห่งข้อมูล’

Loading

    อะโดบี เปิดผลการศึกษาล่าสุดซึ่งแสดงให้เห็นว่า แบรนด์ต่าง ๆ ไม่ได้ดำเนินการตามขั้นตอนที่จำเป็นเพื่อพัฒนา “กลยุทธ์ด้านข้อมูล” แม้ว่าจะทำให้เกิดผลกระทบร้ายแรงทั้งระยะสั้นและระยะยาวต่อธุรกิจก็ตาม   Keypoints   -การใช้งาน third-party cookies จะส่งผลเสียต่อธุรกิจ   -ผู้บริหารที่ใช้คุกกี้จำนวนมากมองว่าคุกกี้เป็น ‘evil จำเป็น’   -การเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์ครั้งใหญ่นี้จะต้องใช้ความมุ่งมั่นและการลงทุนระยะยาว   การสำรวจความคิดเห็นผู้บริหารฝ่ายการตลาดและประสบการณ์สำหรับผู้บริโภคกว่า 2,600 คนทั่วโลก รวมถึง 1,057 คนในเอเชีย-แปซิฟิก เกี่ยวกับการลงทุนด้านการตลาดและกลยุทธ์ที่ทำให้ผู้นำอุตสาหกรรมมีความโดดเด่นแตกต่างเหนือคู่แข่งพบว่า   แบรนด์ 76% ในเอเชีย-แปซิฟิกยังคงพึ่งพา “third-party cookies” เป็นอย่างมาก โดยผู้บริหารกว่า 48% คาดว่าการยุติการใช้งาน third-party cookies จะส่งผลเสียต่อธุรกิจของตน   ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า ความคลุมเครือเกี่ยวกับการเลิกใช้คุกกี้ทำให้เกิดความสับสน และในบางกรณีอาจนำไปสู่การเพิกเฉย โดยไม่ยอมดำเนินการใด ๆ   ทั้งนี้ 33 % ระบุว่าพวกเขาไม่ได้ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ทางการตลาดเพราะมองว่าไม่ใช่เรื่องเร่งด่วนแต่อย่างใด ขณะที่คนอื่น…

เผยขั้นตอนการตรวจสอบ “หมายเรียก” จริงหรือของปลอม เช็คยังไง

Loading

    เผยขั้นตอนการตรวจสอบ “หมายเรียก” หมายที่ท่านได้มานั้นเป็นของจริงหรือของปลอม เช็ค 5 ข้อง่ายๆ ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมมีคำตอบ   จากกรณีที่ ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ได้ออกมาเปิดเผยว่า ถ้าคุณต้องเจอ “หมายเรียก” แต่ไม่แน่ใจว่าจริงหรือหมายเรียกปลอม วันนี้ศูนย์ฯ มีขั้นตอนการตรวจสอบว่าหมายเรียกที่ท่านได้รับเป็นของจริงหรือของปลอม เช็ค 5 ข้อง่ายๆ ดังต่อไปนี้   1. ตั้งสติ ไม่ต้องตกใจ เพราะหมายเรียกนั้นเป็นแค่การเรียกท่านไปพบพนักงานสอบสวน ยังไม่ได้หมายความว่าท่านเป็นผู้ต้องหา (ตราบใดที่ยังไม่ได้มีการแจ้งข้อกล่าวหา) แต่ถึงแม้ว่าท่านจะได้รับหมายเรียกในฐานะผู้ต้องหา ท่านก็มีสิทธิที่จะปฏิเสธข้อกล่าวหาได้ เมื่อไปพบพนักงานสอบสวน   2. ตรวจสอบหมายเรียกที่อยู่ในมือท่านว่ามีรายละเอียดครบถ้วนตามนี้หรือไม่   – สถานที่ออกหมาย – วันที่ที่ออกหมาย – ชื่อและที่อยู่ของพนักงานสอบสวนที่ออกหมาย – สาเหตุที่เรียกไปพบ – สถานที่และวันเวลาที่นัดหมายให้ไปพบ – ลายมือชื่อพร้อมตำแหน่งของพนักงานสอบสวน     3. เพื่อให้มั่นใจว่า พนักงานสอบสวนที่อยู่ในหมายเรียกนั้นเป็นตำรวจจริง ให้ท่านติดต่อไปยังหน่วยงานต้นสังกัด เช่น…

ChatGPT บน GPT-4 เวอร์ชันใหม่ แม้จะเก่งขึ้นมาก แต่ใช้ต้องระวัง

Loading

    สัปดาห์นี้ผมตั้งใจจะไม่เขียนเรื่อง ChatGPT เพราะได้เขียนบทความเกี่ยวกับ ChatGPT ลงในคอลัมน์นี้มาหลายครั้งแล้ว แต่สุดท้ายบริษัท Open AI ซึ่งเป็นผู้พัฒนา ChatGPT ได้ประกาศเปิดตัวโมเดลเอไอเวอร์ชันคือ GPT-4 เมื่อคืนวันอังคารที่ผ่านมา   สัปดาห์นี้ผมตั้งใจจะไม่เขียนเรื่อง ChatGPT เพราะได้เขียนบทความเกี่ยวกับ ChatGPT ลงในคอลัมน์นี้มาหลายครั้งแล้ว แต่สุดท้ายบริษัท Open AI ซึ่งเป็นผู้พัฒนา ChatGPT ได้ประกาศเปิดตัวโมเดลเอไอเวอร์ชันคือ GPT-4 เมื่อคืนวันอังคารที่ผ่านมาพร้อมกับสาธิตความสามารถของโมเดลนี้ที่เหนือกว่า GPT-3.5 ที่ใช้ใน ChatGPT เวอร์ชันเดิม และเพิ่งประกาศให้ใช้งานมาเมื่อปลายปีที่ผ่านมา ก็อดที่จะนำความสามารถที่ทางบริษัทระบุว่า “เป็นโมเดลเอไอที่ก้าวหน้าไปอย่างมาก และสามารถให้คำตอบที่ปลอดภัยและมีประโยชน์มากขึ้น” มาเขียนเรื่อง ChatGPT อีกครั้งหนึ่งไม่ได้   บริษัท Open AI ระบุว่า GPT-4 มีความสามารถที่โดดเด่นกว่า GPT ในรุ่นก่อน 3 ด้าน คือ 1. ความสามารถในการรับข้อมูลที่เป็นรูปภาพ 2.…

‘ภัยคุกคามไซเบอร์’ โจมตี ‘เซิร์ฟเวอร์ไทย’ พุ่ง 89.48%

Loading

  “แคสเปอร์สกี้” ผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยไซเบอร์โลก เปิดรายงานความปลอดภัยไซเบอร์ล่าสุด พบไทยเจอเหตุการณ์โจมตีที่เป็นอันตรายจำนวน 364,219 เหตุการณ์ เกิดจากเซิร์ฟเวอร์ที่โฮสต์ในประเทศไทย สูงกว่าปีที่แล้ว 89.48% หรือ 192,217 เหตุการณ์   นายเซียง เทียง โยว ผู้จัดการทั่วไปประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แคสเปอร์สกี้ กล่าวว่า ประเทศไทย มีสถิติที่โดดเด่นในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา โดยปี 2562 มีการบันทึกเหตุการณ์โจมตีมากที่สุดกว่า 1.08 ล้านเหตุการณ์ ตัวเลขดังกล่าวลดลงในช่วงที่เกิดโรคระบาดในปี 2563-2564 อย่างไรก็ตาม ตัวเลขที่พุ่งสูงขึ้นได้บันทึกไว้อีกครั้งล่าสุดในปี 2565   ช่วง 3 ปีที่ผ่านมากลายเป็นบททดสอบที่ยิ่งใหญ่สำหรับภาคธุรกิจ องค์กรทุกขนาดถูกบังคับให้เปลี่ยนลำดับความสำคัญ โดยมุ่งเน้นที่การปลดล็อกเพื่อเปลี่ยนไปสู่การทำงานจากระยะไกล ในขณะที่ยังต้องต่อสู้กับปัญหาเงินเฟ้อ ปัญหาซัพพลายเชน และการลงทุนในแหล่งรายได้ใหม่   อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจหลังแพร่ระบาดดูเหมือนจะได้รับการเตรียมพร้อมอย่างดี สำหรับอนาคตที่สดใสของประเทศไทย โดยปีนี้ รัฐบาลไทยมีเป้าหมายเร่งรัดการลงทุนของรัฐ เพื่อกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจ กระทรวงการคลังยังคาดการณ์ว่าเศรษฐกิจจะขยายตัว 3-4% ในปี 2566 โดยการเติบโตได้แรงหนุนจากแผนรัฐบาลในการเร่งการลงทุนของรัฐในโครงการโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญ ขณะที่ ภาพรวมของภัยคุกคามทางไซเบอร์นั้นเกินกว่าที่คาดการณ์ไว้…

เตือน!! แฮ็กเกอร์ใช้ AI สร้างวิดีโอน่าเชื่อถือ หลอกล่อเหยื่อดาวน์โหลดซอฟต์แวร์พ่วงมัลแวร์

Loading

  แฮ็กเกอร์ใช้วิธีการใหม่ในการหลอกล่อเหยื่อ ด้วยการใช้ AI สร้างวิดีโอเพิ่มความน่าเชื่อถือ   ปัจจุบันปัญญาประดิษฐ์สามารถสร้างคอนเทนต์ให้เราได้หลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการสร้างบทความ, การสร้างภาพงานศิลป์ กระทั่งการสร้างวิดีโอให้ดูสมจริง ทว่า นี่กลับกลายเป็นช่องทางให้แฮ็กเกอร์สามารถหลอกลวงเหยื่อได้แนบเนียนขึ้นกว่าเดิม!!   การโจมตีบนยูทูบเพิ่มขึ้นทุก ๆ เดือน   CloudSEK บริษัทด้าน AI คาดการณ์ว่า ในแต่ละเดือนจะพบการโจมตีทางไซเบอร์บนแพลตฟอร์มยูทูบ (YouTube) เพิ่มขึ้น 200-300% ซึ่งการโจมตีจะอยู่ในรูปแบบการฝังโปรแกรมประสงค์ร้ายหรือมัลแวร์ (Malware) ลงในลิงก์ที่มากับวิดีโอ โดยมัลแวร์เหล่านี้จะมีความสามารถในการขโมยข้อมูลต่าง ๆ ของเหยื่อได้ เช่น ไวดาร์ (Vidar), เรดไลน์ (RedLine) และแรคคูน (Raccoon)     หลอกล่อเหยื่อให้ดาวน์โหลด “มัลแวร์”   สำหรับวิธีการที่แฮ็กเกอร์ใช้หลอกล่อเหยื่อ ให้เข้ามาดาวน์โหลดมัลแวร์จากลิงก์ที่อยู่ในส่วนขยายความ (Description) ของยูทูบ คือ การสร้างวิดีโอที่น่าเชื่อถือโดยมีผู้บรรยายประกอบ ซึ่งแฮ็กเกอร์จะอาศัยปัญญาประดิษฐ์ที่มีความสามารถในการสร้างวิดีโอเลียนแบบพฤติกรรมของมนุษย์ ได้แก่ แพลตฟอร์มซินธิเซีย (Synthesia) และ ดี-ไอดี…