K-pop Deepfake การคุกคามทางเพศไอดอลเกาหลี อาชญากรรมไซเบอร์ที่ใช้ AI เป็นเครื่องมือ

Loading

    ปัจจุบันการคุกคามไอดอลรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ ไม่ว่าจะเป็นการรุกล้ำความเป็นส่วนตัวนอกเหนือเวลางาน ตั้งแต่ไปรับ–ส่งศิลปินถึงสนามบิน จงใจซื้อตั๋วไฟล์ตบินเดียวกัน สะกดรอยตาม ไปจนถึงดักรอศิลปินที่หอพักของพวกเขา หรือแม้แต่การถ่ายรูปไอดอลในเชิงลามก เช่น การพยายามถ่ายใต้กระโปรง หรือการซูมเน้นเฉพาะส่วนบนเรือนร่างของศิลปิน แล้วนำมาเผยแพร่ทางโซเชียลมีเดีย ซึ่งในยุคที่เทคโนโลยีพัฒนาก้าวหน้าขึ้น การเคารพสิทธิส่วนบุคคลกลับถอยหลังลงอย่างไม่น่าเชื่อ และ ‘AI กลายเป็นเครื่องมือในการคุกคาม’   สนองตัณหาทางเพศด้วยการชมหนังโป๊ปลอมของไอดอลคนโปรด   K-pop Deepfake กลายเป็นสื่อโป๊ที่เข้าถึงได้อย่างง่ายดาย หากค้นหาคำว่า ‘Kpop Deepfake’ ใน Google จะพบผลการค้นหาประมาณ 6.87 ล้านรายการ (ข้อมูลวันที่ 5 มิถุนายน 2023) มีทั้งเว็บไซต์ที่สร้างขึ้นเพื่อ K-pop Deepfake โดยเฉพาะ และเว็บไซต์ Porn อื่นๆ มีการจำแนก K-pop Deepfake เป็นหนึ่งในประเภทคอนเทนต์ลามก รวมถึงมีการจัดหมวดหมู่คลิปโป๊ปลอมของไอดอลหญิงแต่ละคน และจัดอันดับความนิยมในบางเว็บอีกด้วย   ช่วงหนึ่งปีที่ผ่านมา ‘Kpop Deepfake’ ถูกค้นหาอย่างต่อเนื่องใน Google…

Save พ่อแม่จากเฟกนิวส์ : ลูกหลานสื่อสารอย่างไร เมื่อผู้สูงวัยเชื่อกลุ่มไลน์มากกว่าข้อเท็จจริง

Loading

    ตั้งแต่อิลูมินาติ จนถึง CIA ตั้งฐานทัพในประเทศไทย หรือพระธาตุที่หน้าตาคล้ายซิลิก้าเจล จนถึงการดื่มปัสสาวะรักษาโรค – ข้อมูลข่าวสารมากมายที่แชร์กันผ่านกลุ่มไลน์ อาจยากที่จะแยกว่าอะไรจริงหรือไม่จริง ยิ่งหากเป็นข้อมูลที่มาจากเพื่อนสนิท หรือคนที่ไว้ใจ ก็อาจทำให้หลายคนหลงเชื่อ โดยไม่คิดตรวจสอบข้อเท็จจริงเพิ่มเติม   โดยทั่วไป เรามักพบว่ากลุ่มที่ตกเป็นเหยื่อของ ‘เฟกนิวส์’ โดยไม่ได้ตั้งใจ ก็คือ กลุ่มผู้สูงอายุ ยิ่งหากว่าเฟกนิวส์ต่างๆ มาจากช่องทางที่ผู้สูงอายุติดตามเป็นประจำ ไม่ว่าจะเป็นรายการข่าวที่โปรดปราน หรือกลุ่มเพื่อนสนิทวัยเก๋าที่ไว้ใจ ก็ยิ่งมีความเป็นไปได้ว่า ปู่ย่าตายายของเราจะเชื่อข้อมูลเหล่านั้น โดยไม่คิดหาเหตุผลโต้แย้ง   มีการศึกษาที่พบว่า ผู้สูงอายุมักตกเป็นเหยื่อของเฟกนิวส์ง่ายกว่าช่วงอายุอื่นๆ โดยการศึกษาพฤติกรรมการใช้โซเชียลมีเดียในสหรัฐอเมริกา พบว่า ผู้ที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป มักแชร์บทความที่ไม่มีข้อเท็จจริงรองรับ สูงกว่าคนที่อายุระหว่าง 18-29 ปี ถึง 7 เท่า   อย่างไรก็ตาม ข้อมูลจากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ประเทศไทย ระบุว่าผู้สูงอายุที่มีการใช้สื่อดิจิทัลเพิ่มขึ้น มักแชร์ข้อมูลต่างๆ ออกไปด้วยความปรารถนาดี แต่ปัญหาคือ ก่อนแชร์ข้อมูลมักไม่ทันได้ตรวจสอบว่า ข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใด เป็นข้อมูลที่มีความคิดเห็นเจือปน…

รวม 8 อาวุธยูเครน ที่ได้รับจากชาติตะวันตก ทั้งรถถัง ปืนใหญ่ เครื่องบิน และโดรน

Loading

  TNN Tech รวบรวมข้อมูลยุทโธปกรณ์ทางการทหารที่ได้รับจากชาติตะวันตกในความขัดแย้งระหว่างรัสเซียกับยูเครน     นับจากเดือนกุมภาพันธ์ปีที่ผ่านมา ปฏิบัติการทางการทหารระหว่างรัสเซียกับยูเครนได้เข้าสู่เดือนที่ 16 ซึ่งจากการรวบรวมข้อมูลของ TNN Tech พบว่ามียุทโธปกรณ์จำนวนมากจากชาติตะวันตกได้ถูกส่งมอบไปยังยูเครนทั้งในรูปแบบของความช่วยเหลือและรูปแบบของการซื้อขาย ซึ่งมีตัวอย่างอาวุธที่น่าสนใจทั้งหมด 4 ประเภท รวม 8 ชนิด ดังต่อไปนี้   รถถังต่อสู้หลัก (Main Battle Tank: MBT)   1. เอ็มวัน เอแบรมส์ (M1 Abrams) รถถังหลักอันโด่งดังซึ่งผลิตและประจำการในประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ถูกส่งมอบให้กับยูเครนจำนวน 31 คัน สหรัฐอเมริกา   2. ชาเลนเจอร์ ทู (Challenger 2) รถถังหลักซึ่งผลิตขึ้นยุคปี 1990 ประจำการอยู่ในกองทัพของอังกฤษ จำนวน 14 คัน   3. เลพเพิร์ด ทู (Leopard 2)…

ระบบตรวจจับสึนามิใหม่ของ NASA รู้ว่าจะเกิดก่อน 1 ชั่วโมง !!

Loading

    GUARDIAN ระบบจับคลื่นสัญญาณการเกิดสึนามิของ NASA สามารถช่วยให้เรารู้ล่วงหน้าว่าจะเกิดสึนามิขึ้นก่อน 1 ชั่วโมง   คลื่นยักษ์ “สึนามิ” ถือเป็นหนึ่งในภัยพิบัติที่น่ากลัวและอันตรายที่สุดของโลก โดยเฉพาะเมืองหรือผู้คนที่อาศัยอยู่แถบชายฝั่ง หากเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงขึ้น มีโอกาสที่สึนามิจะเกิดขึ้นมาได้มาก โดยเฉพาะหากแผ่นดินไหวนั้นเกิดขึ้นจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกใต้ทะเลหรือภูเขาไฟใต้ทะเลระเบิด และที่น่ากลัวที่สุดคือ ปัจจุบันเทคโนโลยีของมนุษย์รับรู้ว่าสึนามิกำลังเกิดขึ้นได้เร็วที่สุดเพียงไม่กี่วินาทีหลังเกิดสึนามิขึ้นมาแล้ว ซึ่งทำให้การเตรียมตัวในการอพยพผู้คนออกจากพื้นที่เสี่ยงภัยนั้นทำได้ยากและล่าช้า   GUARDIAN ระบบเตือนสึนามิของ NASA   GUARDIAN หรือ GNSS Upper Atmospheric Disaster Information and Alert Network คือ ระบบเตือนสึนามิ ที่พัฒนาโดยหน่วยงาน Jet Propulsion Laboratory (JPL) ของ NASA ความพิเศษของระบบนี้คือการที่มันใช้ “ข้อมูลจากดาวเทียม และ GPS รอบโลก” ในการตรวจสอบว่า “สึนามิกำลังจะเกิดขึ้นจริงไหม ?”   การใช้ข้อมูลจากดาวเทียมและ GPS นี้…

ScamTok ระวังภัยมืดบน TikTok ในรูปแบบ TikTok Scam

Loading

    ScamTok ระวังภัยมืดบน TikTok ซึ่งเกิดขึ้นใกล้ตัวคุณตลอดเวลาที่ชมคลิป ด้วย TikTok ติดอันดับแอปโซเชียลที่โตไวที่สุดในยุคปัจจุบันนี้ ด้วยผู้ใช้หนึ่งพันล้านคนทั่วโลกในเวลาไม่ถึงทศวรรษ โดยส่วนใหญ่จะใช้เวลาในการดูคลิป TikTok เป็นประจำ อย่างไรก็ตามด้วยความนิยมของคลิป TikTok มาพร้อมกับความเสี่ยงด้านความปลอดภัย มิจฉาชีพก็แอบแฝงอยู่ใน TikTok ด้วย ดำเนินการโจมตีทาง Social Engineering ในรูปแบบต่าง ๆ นั่นคือ TikTok Scam หรือเรียกสั้นๆว่า ScamTok ต่อไปนี้คือวิธีสังเกตและป้องกันภัยหลอกลวงของ TikTok   ScamTok ระวังภัยมืดบน TikTok ในรูปแบบ Tiktok Scam  รวมรูปแบบภัยหลอกลวง ScamTok หรือ TikTok Scam จากมิจฉาชีพบน TikTok มีดังนี้   1. ช่องทางรวยสบายรวดเร็วทันใจ พวกมิจฉาชีพใช้ประโยชน์จากวัฒนธรรมอินฟลูเอนเซอร์ที่กำลังเติบโตของ TikTok เพื่อส่งเสริมแผนการช่องทางรวยทันใจ ช่องอาชีพรุ่นใหม่รวยเร็ว โดยสแกมเมอร์ใช้ประโยชน์จากแนวโน้มเพื่อสร้างข้อเสนอทางธุรกิจที่ดูเหมือนจะมีกำไรแต่ไร้จุดหมาย พวกเขามาจากกูรูตัวปลอมที่แนะนำให้ผู้ชมส่งต่อเนื้อหาที่สร้างโดย…

เมื่อเบอร์มือถือ=ตัวตนของเรา

Loading

สำนักงาน กสทช. ตระหนักถึงความสำคัญของการเชื่อมโยงเบอร์มือถือกับชื่อผู้ใช้งานเบอร์มือถือให้มีความถูกต้องตรงกัน จึงได้กำกับดูแลให้ผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือต้องจัดเก็บข้อมูลผู้ใช้บริการ (หรือการลงทะเบียนซิมการ์ด) เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้ใช้บริการในกรณีที่อาจได้รับบริการไม่เป็นไปตามสัญญาที่ตกลงกันไว้     ในวันที่โทรศัพท์มือถือไม่ใช่เพียงแค่อุปกรณ์สื่อสารที่ไว้แค่ใช้โทรติดต่อหากันอย่างเดิม หากแต่ยังเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเชื่อมต่อไปยังโลกทั้งใบ ผ่านแอปพลิเคชันและช่องทางโซเชียลมีเดีย ขณะเดียวกันเบอร์โทรศัพท์ที่ใช้อยู่นั้น ยังเป็นปัจจัยสำคัญหนึ่งสำหรับการยืนยันตัวตนเพื่อเข้าถึงบริการด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะการทำธุรกรรมด้านการเงินผ่านแอปพลิเคชันของธนาคาร หรือสถาบันการเงินอื่น ๆ ด้วยการกรอกรหัส OTP (One Time Password) ที่จะได้รับผ่านทาง SMS โทรศัพท์และเบอร์มือถือจึงเป็นเสมือนเครื่องมือยืนยันตัวตนในยุคดิจิทัล   เมื่อย้อนเวลาไปในปี 2557 สำนักงาน กสทช. ตระหนักถึงความสำคัญของการเชื่อมโยงเบอร์มือถือกับชื่อผู้ใช้งานเบอร์มือถือให้มีความถูกต้องตรงกัน จึงได้กำกับดูแลให้ผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือต้องจัดเก็บข้อมูลผู้ใช้บริการ (หรือการลงทะเบียนซิมการ์ด) เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้ใช้บริการในกรณีที่อาจได้รับบริการไม่เป็นไปตามสัญญาที่ตกลงกันไว้ หรือแม้แต่การขอคืนเงินค่าใช้บริการ และยังมีประโยชน์ในมิติเชิงสังคมและความมั่นคงของประเทศในกรณีที่หน่วยงานของรัฐต้องนำข้อมูลไปปราบปรามหรือจับกุมผู้กระทำความผิดได้   และต่อมาเมื่อปี 2562 สำนักงาน กสทช. ได้ยกระดับการลงทะเบียนซิมการ์ดโดยให้มีการพิสูจน์ยืนยันตัวตนด้วยอัตลักษณ์ (Biometric) เพื่อป้องกันปัญหาการแอบอ้างหรือสวมสิทธิ์ในการลงทะเบียนซิมการ์ดอันอาจก่อให้เกิดปัญหาต่อผู้ใช้บริการตลอดจนปัญหาสังคมในรูปแบบต่าง ๆ   อย่างไรก็ตาม การเติบโตของการใช้บริการโทรศัพท์มือถือ และความสะดวกสบายที่เพิ่มมากขึ้นจากช่องทางการสื่อสารที่ทันสมัย ก็มาพร้อมกับภัยที่มิจฉาชีพปรับเปลี่ยนวิธีการหลอกลวงให้ทันสมัยเช่นกัน กสทช. จึงได้กำหนดนโยบายจัดระเบียบการลงทะเบียนซิมการ์ดเพิ่มเติม โดยหากกรณีที่ประชาชนต้องการใช้ซิมการ์ดมากกว่า 5 เบอร์ต่อ…