ผู้เชี่ยวชาญจีนชี้โอกาสและความเสี่ยงในยุคแห่ง AI

Loading

  CGTN: ปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI เป็นหัวข้อหนึ่งที่ถกเถียงกันมากในเวทีป๋ออ้าว ฟอรัม ในปีนี้ เนื้อหาที่สร้างขึ้นโดย AI ที่แพร่หลายมากขึ้น และแพลตฟอร์ม Sora ที่สามารถสร้างวิดีโอขึ้นได้เองสร้างความตกตะลึงไปทั่วโลก   บทความจาก : Opportunities and risks in the era of AI   เทคโนโลยี AI ได้แสดงถึงศักยภาพที่ก้าวล้ำไปกว่าการวิจัยทางวิทยาศาสตร์แบบดั้งเดิม และสร้างสิ่งใหม่ๆ ขึ้นในวงการต่างๆ แต่ในขณะเดียวกันก็นำมาซึ่งความกังวลหลายอย่าง เช่น การแยกแยะข้อมูลเท็จที่ยากลำบาก และงานหลายอย่างที่เสี่ยงจะถูกทดแทนด้วย AI เราสามารถประเมินสิ่งที่จะเกิดขึ้นได้ ดังนี้   ในอนาคต ระบบคอมพิวเตอร์จะสามารถตอบสนองต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมได้ (human-machine environment system) โดยจะผสานระหว่าง AI Internet of things สมาร์ท เซนเซอร์ และเทคโนโลยีอื่นๆ เพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ เข้าใจ และตอบสนองต่อผู้ใช้งานและสิ่งแวดล้อมได้อย่างชาญฉลาด…

จมูกอิเล็กทรอนิกส์ระบุโมเลกุลก๊าซได้เร็ว

Loading

  จมูกอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (e-nose) ไม่ใช่เรื่องใหม่ในวงการเทคโนโลยี แต่นวัตกรรมนี้ได้รับการพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ เพื่อให้ตอบโจทย์การใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ   ล่าสุดทีมวิจัยจากสถาบันวิทยาศาสตร์กายภาพเหอเฟย แห่งสภาวิทยาศาสตร์จีนในประเทศจีน รายงานถึงการพัฒนาจมูกอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ที่ใช้การปรับอุณหภูมิความร้อนด้วยตนเองเพื่อให้สามารถระบุโมเลกุลของก๊าซได้อย่างรวดเร็ว   ทีมวิจัยเผยว่า แนวทางของนวัตกรรมใหม่นี้ พัฒนาขึ้นเพื่อเป็นทางเลือกแทนวิธีการทั่วไป ที่ต้องอาศัยเครื่องทำความร้อนภายนอก เพราะ e-nose แบบใหม่จะใช้กลยุทธ์การปรับความร้อนด้วยตนเอง เพื่อแยกแยะโมเลกุลก๊าซเป้าหมายประเภทต่าง ๆ ได้อย่างแม่นยำภายในเวลาอันแสนสั้นเพียง 1 วินาทีเท่านั้น โดย e-nose ประกอบด้วยเซนเซอร์ที่เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำแบบไม่เจาะจงในการตรวจจับสาร ทีมพบความก้าวหน้าในการแยกแยะโมเลกุลก๊าซ 12 โมเลกุลได้อย่างแม่นยำภายใน 0.5-1 วินาที   อย่างไรก็ตาม การแยกคุณสมบัติทางโมเลกุลที่เหมาะสมออกมาในเวลาอันสั้นราว 1 วินาที ก็ยังคงเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการเตือนล่วงหน้าของ e-nose เช่นการตรวจพบก๊าซที่เป็นอันตรายถึงชีวิตหรือก๊าซที่ระเบิดได้ ซึ่งยังต้องพัฒนาวิจัยต่อไปเพื่อก้าวข้ามอุปสรรคที่มีอยู่ให้ได้.       ——————————————————————————————————————————————————————————— ที่มา :                 …

Whoscall เผย ปี 2566 คนไทยเป็นเหยื่อ SMS หลอกลวงมากที่สุดในเอเชีย

Loading

Whoscall เผย ปี 2566 คนไทยเป็นเหยื่อ SMS หลอกลวงมากที่สุดในเอเชีย มิจฉาชีพขยันหลอกมากขึ้น 12.2 ล้านครั้ง จากปีที่ผ่านมา คนไทยเสี่ยง ต้องรับสายโจร 20.8 ล้านครั้ง ข้อความหลอกลวง 58 ล้านครั้ง

ระวัง ‘Fake Trading Apps’ ใน Google Play และ App Store ขโมยเงิน

Loading

ปัจจุบันอัตราการใช้สมาร์ตโฟนเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพราะมีฟังก์ชันการใช้งานที่ตอบโจทย์การใช้ชีวิตโดยเมื่อเร็ว ๆ นี้ มีการเปิดเผยให้เห็นแนวโน้มของปริมาณ การซื้อขายแอปพลิเคชัน (app) ปลอมบน Google Play และ App Store ที่ออกแบบมาเพื่อหลอกผู้ใช้งาน

เจาะลึก Digital 2024 วิเคราะห์พฤติกรรมออนไลน์คนไทย เทียบเทรนด์ทั่วโลก

Loading

We are social ออกรายงาน “Digital 2024 Global Overview” สรุปสถิติใช้เทคโนโลยีดิจิทัลทั่วโลก ทั้งอัตราการใช้อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์ที่ผู้ใช้ใช้เพื่อเข้าถึงเนื้อหาและบริการดิจิทัล พฤติกรรมใช้อินเทอร์เน็ต สื่อสังคมออนไลน์ พบข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยวกับไทยหลายประการ

‘ข้อมูล DNA เรา’ ถูกแฮ็กง่ายกว่าที่คิด ความเสี่ยงใหม่ที่หลายคนกำลังมองข้าม

Loading

ในช่วงการระบาดโควิด-19 ที่ผ่านมา หลายคนเข้าไปสวอปโพรงจมูก เพื่อตรวจว่าเราติดเชื้อโควิดด้วยหรือไม่ สิ่งที่ผู้ตรวจเก็บไว้ไม่ใช่เพียงข้อมูลส่วนตัวทั่วไป แต่ยังรวมถึง “ข้อมูลทางพันธุกรรม” ของเราด้วย ซึ่งเป็นเหมือน “ขุมทรัพย์ก้อนโต” ของมิจฉาชีพ ถ้าข้อมูล DNA เหล่านี้ยังคงเป็นความลับอยู่ ก็คงไม่มีปัญหาอะไร