รัฐบาลดิจิทัล (3) : ‘ท้องถิ่นดิจิทัล’ เมืองไทยไม่ใช่แค่กรุงเทพฯ

Loading

ประเทศไทยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) 7,850 แห่ง แบ่งเป็น อบจ. 76 แห่ง เทศบาลนคร 30 แห่ง เทศบาลเมือง 195 แห่ง เทศบาลตำบล 2,247 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) อีก 5,300 แห่ง ยังมีองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษอีก 2 แห่งคือ กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา

รัฐบาลดิจิทัล (2): ทำอย่างไรให้ ‘ช้างเต้นระบำ’

Loading

ลู เกอร์สท์เนอร์ (Lou Gerstner) อดีต CEO IBM เขียนหนังสือ ชื่อ “ใครว่าช้างเต้นระบำไม่ได้” (Who Says Elephants Can’t Dance?) เล่าประสบการณ์การพลิกโฉมไอบีเอ็มจากบริษัทขายคอมพิวเตอร์ที่ใกล้ล้มละลาย มาเป็นบริษัทให้บริการและที่ปรึกษาไอที ที่เฟื่องฟูได้สำเร็จในยุค 90

รัฐบาลดิจิทัล (1): ความฝัน หรือ ความหวัง?

Loading

คุณจำได้ไหมว่าไปติดต่อราชการครั้งสุดท้ายเมื่อไหร่ ถ้าไม่มีธุระจำเป็น เราคงไม่อยากจะติดต่อกับราชการ เพราะก่อนไปก็ต้องหาข้อมูลว่า ธุระที่จะไปทำนั้นอยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานไหน (ยุ่ง) ศึกษาขั้นตอนและกฎระเบียบ ซึ่งเขียนเป็นภาษาราชการ อ่านแล้วไม่เข้าใจ (ยาก)

วิเคราะห์: ฉากต่อไป หลัง ‘ทรัมป์’ กลายเป็นอดีตผู้นำสหรัฐฯ คนแรกที่ต้องคดีอาญา

Loading

อดีตประธานาธิบดีสหรัฐฯ โดนัลด์ ทรัมป์ กลายเป็นอดีตผู้นำสหรัฐฯ คนแรกในประวัติศาสตร์การเมืองอเมริกันที่ถูกตัดสินว่ามีความผิดในคดีอาญา แม้ว่าเขาจะยังคงเป็นอิสระระหว่างรอการพิจารณาคดี และมีโอกาสหลีกเลี่ยงโทษจำคุกได้ทั้งหมด ต่อข้อกล่าวหาปลอมแปลงข้อมูลทางการเงินช่วงก่อนการเลือกตั้งประธานาธิบดีปี 2016 แต่อนาคตทางการเมืองของเขายังคงเป็นสิ่งที่ต้องจับตากันต่อไป

รู้จัก แอปทางรัฐ คืออะไร พร้อมวิธีลงทะเบียน เพื่อรับเงินดิจิทัล และติดต่องานราชการ

Loading

แอปทางรัฐ เปรียบเสมือนผู้ช่วยคนใหม่ที่รวบรวมบริการภาครัฐกว่า 149 รายการไว้บนมือถือของคุณ เพียงดาวน์โหลดแอปและลงทะเบียนใช้งาน ก็สามารถเข้าถึงบริการต่างๆ ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โดยไม่ต้องเดินทางไปที่หน่วยงาน ไม่ต้องรอคิว ไม่ต้องเสียเวลา

ChatGPT ภาพหลอน และการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล

Loading

  หลาย ๆ ท่านอาจเคยได้ยินว่า Generative AI อาจให้ข้อมูลที่ผิดพลาดหรือไม่ตรงกับความเป็นจริงได้ ดังนั้น ผู้ใช้งานโมเดลภาษาขนาดใหญ่ (LLM: Larger language models) จึงต้องมีความตระหนักรู้ในข้อจำกัดของเทคโนโลยีประกอบด้วย   ข้อมูลที่ผิดพลาดอาจจะเป็นข้อเท็จจริงพื้นฐาน หรืออาจจะเป็นข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลก็ได้ ลองจินตนาการว่าหาก Generative AI ให้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับตัวท่าน เช่น “วันเดือนปีเกิด” ท่านในฐานะของผู้ใช้งานโมเดลภาษาหเล่านั้นหรือเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลที่ไม่ถูกต้อง   และโดยเฉพาะอย่างยิ่งหากมีการให้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องที่อาจสร้างความเสื่อมเสียต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล   ท่านจะมีสิทธิตามกฎหมายอย่างไรบ้างหรือไม่ เพื่อจะทำให้ข้อมูลส่วนบุคคลของตนที่ถูกประมวลผลหรือแสดงผลโดย Generative AI นั้นถูกต้อง หรือขอให้ลบข้อมูลเหล่านั้นออกจากการประมวลผลหรือการแสดงผลลัพธ์   การที่ระบบปัญญาประดิษฐ์หรือ AI สร้างข้อมูลหรือเนื้อหาที่ไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นความจริง ในทางเทคนนิค เรียกว่า AI Hallucination หรือการประดิษฐ์ภาพหลอนโดย AI   คือกรณีนี้เป็นสถานการณ์ที่ AI สร้างข้อมูลหรือเนื้อหาที่ไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นความจริง ซึ่งเป็นผลลัพธ์การตอบสนองที่สร้างโดย AI ที่ให้ข้อมูลที่เป็นเท็จหรือทำให้เข้าใจผิดว่าเป็นข้อเท็จจริง     เปรียบเสมือนภาพหลอนในจิตวิทยาของมนุษย์ที่อาจเกิดจากข้อจำกัดของโมเดล AI เอง…