การถวายความปลอดภัยในสมัยอยุธยา

Loading

จากหนังสือ “ลัทธิธรรมเนียมต่างๆ” กรมศิลปากร มีเนื้อความเกี่ยวกับวิธีการจัดกำลังพล อาวุธ และพาหนะสำหรับถวายความปลอดภัยและการอารักขาต่อพระมหากษัตริย์ตามแต่การเสด็จพระราชดำเนินจะเป็นทางสถลมารคที่แยกออกเป็นทางกระบวนราบ กระบวนช้าง กระบวนม้า หรือการเสด็จโดยทางชลมาคร ซึ่งการจัดดังกล่าวก็คือ วิธีการวางแนวทางรักาความปลอดภัยนั้นเอง และในบางวิธียังคงใช้มาจนถึงปัจจุบัน อย่างเช่น หนังสือเล่มนี้ ในภาคที่ ๑๙ ตำรากระบวนเสด็จพระราชดำเนินครั้งกรุงศรีอยุธยา เรื่อง ล้อมวง ณ ที่ประพาส “ แลพันเทพราชกลาโหมได้เกณฑ์พันทนายคบหอก หมู่ตำรวจในซ้าย ๑๖ ขวา ๑๖ รวม ๓๒  หมู่ตำรวจใหญ่ ซ้าย ๑๖ ขวา ๑๖ รวม ๓๒  หมู่ตำรวจนอก ซ้าย ๑๐ ขวา ๑๐ รวม ๒๐หมู่ทหารใน ซ้าย ๑๖ ขวา ๑๖ รวม ๓๒  หมู่ทนาย เลือกหอก ซ้าย ๑๐ ขวา ๑๐…

คู่มือการรักษาความปลอดภัยในการประชุมลับ

Loading

“การประชุมลับ” ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๒ หมายความว่า การร่วมปรึกษาหารือเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่เป็นความลับของทางราชการ และให้หมายความรวมถึงการหาข้อยุติ ข้อพิจารณา ความเห็น การอภิปราย การบรรยาย การบรรยายสรุป และเหตุการณ์ที่ปรากฏในการประชุมลับนั้นด้วย

ข้อสังเกตด้าน รปภ.ต่อพื้นที่ที่เกิดเหตุร้ายในกรุงปารีส ปี 2558

Loading

พื้นที่กรุงปารีสและบริเวณชานกรุงแบ่งออกเป็น 20 เขต ถึงแม้แต่ละเขตมีสภาพทั่วไปที่ต่างกัน แต่ต่างเป็นแหล่งประวัติศาสตร์และสถานที่ท่องเที่ยวระดับโลก

ความเป็นมาของการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานที่

Loading

     การรักษาความปลอดภัยสถานที่ คือ มาตรการป้องกันหรือป้องปรามที่กำหนดไว้ โดยมุ่งให้มีประสิทธิภาพสูงสุดเท่าที่จะดำเนินการได้และมีความพร้อมต่อการเผชิญกับเหตุร้าย      ความจริงการรักษาความปลอดภัยสถานที่มาจากสามัญสำนึกและสัญชาติญาณของมนุษย์ในการระวังภัยอันตราย นับแต่ยุคหินที่อาศัยอยู่ตามถ้ำ มนุษย์ยุคหินที่อยู่เป็นกลุ่มรวมกันภายในถ้ำเดียวกันจะร่วมมือกันปกป้องแหล่งที่อยู่อาศัย ไม่ให้มนุษย์ต่างกลุ่มหรือสัตว์ป่าเข้ามาหรือเข้าใกล้พื้นที่อาศัยของกลุ่มตน วิธีป้องกัน เช่น ก่อกองไฟไว้ที่ปากถ้ำ มียามเฝ้าทางเข้า และเมื่อรู้จักเลี้ยงสุนัข ก็ใช้สุนัขช่วยเฝ้าระวัง เป็นต้น ต่อมาเมื่อเจริญขึ้น จึงรู้จักประดิษฐ์เครื่องทุ่นแรงสำหรับปกป้องพื้นที่อาศัย เช่น ทำรั้วแบ่งอาณาเขตไปพร้อมกับการป้องกันภัยจากการรุกล้ำ จากกองไฟบนพื้นดินกลายเป็นคบไฟ และเป็นแสงไฟจากโคมส่องสว่างหรือไฟฉาย การประดิษฐ์เครื่องมือประเภทต่าง ๆ มาช่วยหรือเสริมการเฝ้าระวัง สังเกตการณ์ และการป้องกันจึงมีพัฒนาการเรื่อยมาพร้อมกับมีประสิทธิภาพที่เพิ่มมากขึ้น      ถึงแม้จะเกิดการพัฒนาวิธีการและเครื่องมืออุปกรณ์ในรูปแบบต่าง ๆ อย่างมากมาย แต่จุดมุ่งหมายในการใช้งานยังคงเดิม คือ การเฝ้าระวังและตรวจตรามิให้เกิดการบุกรุก กับแจ้งเตือน ป้องกัน และขัดขวางการลุกล้ำเข้ามาในพื้นที่ในครอบครอง อย่างไรก็ดี อาคาร สิ่งก่อสร้าง หรือสถานที่ตั้งในปัจจุบันมีทั้งขนาดที่ใหญ่และมีความสลับ ซับซ้อนของอาคารมากขึ้น จากสภาพนี้จึงต้องมีการวางแนวทางป้องกันมากยิ่งกว่าถ้ำในยุคหิน ดังนั้น ระบบการป้องกันจึงมีความซับซ้อนตามไปด้วย มาตรการการรักษาความปลอดภัยจึงมีการกำหนดขอบเขตมากขึ้น เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพที่รองรับกับความซับซ้อนเหล่านั้น ได้แก่ ต้องมีการกำหนดพื้นที่ที่จะดำเนินการรักษาความปลอดภัย ต้องมีการกำหนดมาตรการการรักษาความปลอดภัยเช่น จัดทำรั้ว/กำแพงแบ่งพื้นที่ จัดทำแสงส่องสว่าง จัดทำเครื่องกีดขวาง…

ตัวอย่างการทำแผนฉุกเฉินเตรียมการเผชิญเหตุรุนแรงจากการชุมนุมประท้วง

Loading

หลักการ สืบเนื่องจากเหตุการณ์และสภาพที่เกิดจากการชุมนุมประท้วงต่อต้านการบริหารงานของหน่วยงานรัฐบาล หลักการที่ต้องคำนึงถึง 1. สาเหตุที่ก่อให้เกิดการชุมนุมประท้วงและการดำเนินการแก้ไขของหน่วยงาน เช่น การจัดเจ้าหน้าที่เข้าไปเจรจารับทราบสาเหตุ-พยายามแก้ไปัญหาให้แก่ผู้ชุมนุมประท้วง 2. ผลและสภาพภายหลังดำเนินการเจรจา เช่น ลดความรู้สึกเผชิญหน้าระหว่างกันลงได้ หรือเพิ่มความรู้สึกขัดแย้งให้ทวียิ่งขึ้น 3. ประเมินสภาพของกลุ่มผู้ชุมนุม เช่น 3.1 ในชั้นต้นเป็นเพียงการชุมนุมของกลุ่มผู้ประท้วงขนาดย่อย 3.2 ต่อมากลุ่มผู้นำการประท้วงมีเป้าหมายและพยายามเคลื่อนไหวในรูปแบบการปลุกระดมและประกอบกิจกรรมต่างๆ ในบริเวณที่ทำการประท้วง เพื่อกดดันหน่วยงาน 3.3 ผลจากข้อ 3.2 ทำให้มีประชาชนมาเข้าร่วมชุมนุมและยิ่งขยายตัวออกไป 3.4 การชุมนุมมีท่าทีที่จะทวีความรุนแรงมากขึ้นตามลำดับ 3.5 ประเมินได้ว่าอาจกลายเป็นการเข้ายึดพื้นที่ตั้งหน่วยงาน หรือสถานที่ราชการ ในบริเวณใกล้เคียง หรือทำการปิดเส้นทางการจราจรโดยรอบ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนี้อาจเปรียบได้ว่าเป็นการเคลื่อนไหวที่จะนำไปสู่การก่อจลาจล ที่มุ่งทำลายชีวิตและทรัพย์สินของส่วนราชการ 4. ประเมินพื้นที่ตั้งของหน่วยงาน บริเวณโดยรอบ และพื้นที่ใกล้เคียงว่า ใกล้กับสถานที่สำคัญประเภทใดบ้างที่อาจเป็นหรือเป็นเป้าหมายของการชุมนุม ประท้วงต่อไปหรืออาจได้รับความเสียหาย ในกรณีที่การประท้วงขยายตัว เช่น พื้นที่ตั้งใกล้ทำเนียบรัฐบาล ตั้งใกล้กับโบราณสถาน เป็นต้น ด้วยเหตุดังกล่าว หน่วยงานของรัฐจึงต้องเผชิญกับการเคลื่อนไหวทุกรูปแบบที่กลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงกระทำ เพื่อก่อกวน กดดัน หรือโจมตี รวมถึงการมุ่งทำลายล้าง การวางมาตรการรักษาความปลอดภัยภายในพื้นที่เป็นการเฉพาะเพิ่มขึ้นจึงเป็นความจำเป็น เพื่อรองรับภาวะฉุกเฉินที่มีสาเหตุจากการชุมนุมประท้วง เนื่องจากมาตรการรักษาความปลอดภัยเดิม ส่วนใหญ่จะเป็นการเฝ้าระวังและป้องกันสถานที่จากการโจรกรรม…

วิธีการเตรียมแผนฉุกเฉินเตรียมการเผชิญเหตุรุนแรงจากการชุมนุมประท้วง

Loading

หลักการ สืบเนื่องจากเหตุการณ์และสภาพที่เกิดจากการชุมนุมประท้วงต่อต้านการบริหารงานของหน่วยงานรัฐบาล หลักการที่ต้องคำนึงถึง 1. สาเหตุที่ก่อให้เกิดการชุมนุมประท้วงและการดำเนินการแก้ไขของหน่วยงาน เช่น การจัดเจ้าหน้าที่เข้าไปเจรจารับทราบสาเหตุ-พยายามแก้ไปัญหาให้แก่ผู้ชุมนุมประท้วง 2. ผลและสภาพภายหลังดำเนินการเจรจา เช่น ลดความรู้สึกเผชิญหน้าระหว่างกันลงได้ หรือเพิ่มความรู้สึกขัดแย้งให้ทวียิ่งขึ้น 3. ประเมินสภาพของกลุ่มผู้ชุมนุม เช่น 3.1 ในชั้นต้นเป็นเพียงการชุมนุมของกลุ่มผู้ประท้วงขนาดย่อย 3.2 ต่อมากลุ่มผู้นำการประท้วงมีเป้าหมายและพยายามเคลื่อนไหวในรูปแบบการปลุกระดมและประกอบกิจกรรมต่างๆ ในบริเวณที่ทำการประท้วง เพื่อกดดันหน่วยงาน 3.3 ผลจากข้อ 3.2 ทำให้มีประชาชนมาเข้าร่วมชุมนุมและยิ่งขยายตัวออกไป 3.4 การชุมนุมมีท่าทีที่จะทวีความรุนแรงมากขึ้นตามลำดับ 3.5 ประเมินได้ว่าอาจกลายเป็นการเข้ายึดพื้นที่ตั้งหน่วยงาน หรือสถานที่ราชการ ในบริเวณใกล้เคียง หรือทำการปิดเส้นทางการจราจรโดยรอบ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนี้อาจเปรียบได้ว่าเป็นการเคลื่อนไหวที่จะนำไปสู่การก่อจลาจล ที่มุ่งทำลายชีวิตและทรัพย์สินของส่วนราชการ 4. ประเมินพื้นที่ตั้งของหน่วยงาน บริเวณโดยรอบ และพื้นที่ใกล้เคียงว่า ใกล้กับสถานที่สำคัญประเภทใดบ้างที่อาจเป็นหรือเป็นเป้าหมายของการชุมนุม ประท้วงต่อไปหรืออาจได้รับความเสียหาย ในกรณีที่การประท้วงขยายตัว เช่น พื้นที่ตั้งใกล้ทำเนียบรัฐบาล ตั้งใกล้กับโบราณสถาน เป็นต้น ด้วยเหตุดังกล่าว หน่วยงานของรัฐจึงต้องเผชิญกับการเคลื่อนไหวทุกรูปแบบที่กลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงกระทำ เพื่อก่อกวน กดดัน หรือโจมตี รวมถึงการมุ่งทำลายล้าง การวางมาตรการรักษาความปลอดภัยภายในพื้นที่เป็นการเฉพาะเพิ่มขึ้นจึงเป็นความจำเป็น เพื่อรองรับภาวะฉุกเฉินที่มีสาเหตุจากการชุมนุมประท้วง เนื่องจากมาตรการรักษาความปลอดภัยเดิม ส่วนใหญ่จะเป็นการเฝ้าระวังและป้องกันสถานที่จากการโจรกรรม…