เตือนภัย มิจฉาชีพใช้ AI 3 รูปแบบมาหลอกเหยื่อให้หลงเชื่อโอนเงิน

Loading

  เตือนภัย ! ยุคเทคโนโลยีล้ำหน้า “มิจฉาชีพ” ใช้ AI 3 รูปแบบทั้ง ปลอมเสียง ปลอมแปลงใบหน้า หรือสร้างบทความหลอกให้มาร่วมลงทุน   ปัจจุบันมิจฉาชีพออนไลน์ มักมาทุกรูปแบบจนเหยื่อหลายรายตามไม่ทัน ซึ่งมุกมีใหม่ ๆ ที่ไม่มีใครคาดคิดทำให้มีประชาชนหลงกลตกเป็นผู้เสียหายจำนวนมาก ซึ่งที่ผ่านมาหน่วยงานต่าง ๆ ต่างเร่งแก้ไขปราบปราม ประชาชนสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชน แต่คนร้ายแก๊งคอลเซ็นเตอร์ก็พัฒนาวิธีการหลอกรูปแบบใหม่ๆ โดยเฉพาะการนำเทคโนโลยี Ai มาเป็นเครื่องมือในการหลอกลวงกระทำความผิด   รูปแบบของ AI ที่มิจฉาชีพนำมาใช้ ที่เริ่มพบเจอเยอะมากขึ้นได้แก่ •  Voice Cloning หรือ การใช้ AI ปลอมเสียง โดยจะเป็นการใช้ AI เลียนแบบเสียงของบุคคลให้มีความคล้ายคลึงกับบุคคล เพื่อใช้ในการหลอกเหยื่อให้คิดว่าได้คุยกับคน ๆ นั้นจริง ๆ ก่อนที่จะหลอกให้โอนเงินหรือทำอะไรอย่างอื่นต่อไป   •  Deepfake หรือการใช้ AI ปลอมแปลงใบหน้าให้มีความคล้ายคลึงกับบุคคลต่างๆ เพื่อหลอกเชื่อว่าคน ๆ…

นักวิจัยสหรัฐฯ ดึง AI ทำนาย ‘แผ่นดินไหว’ ล่วงหน้า

Loading

  แผ่นดินไหวเป็นภัยธรรมชาติที่ยังไม่สามารถพยากรณ์ได้ และที่ผ่านมา เหตุภัยพิบัติรุนแรงนี้ก็เกิดขึ้นทั่วโลก โดยปราศจากการเตือนล่วงหน้า   เซอร์เกย์ โฟเมล อาจารย์ด้านธรณีฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเท็กซัส วิทยาเขตออสติน (University of Texas at Austin – UT) กล่าวว่า “สำหรับแผ่นดินไหววิทยา การพยากรณ์แผ่นดินไหวถือเป็นสิ่งสุดท้ายที่รอคอยมาอย่างยาวนาน ผู้คนพยายามทำสิ่งนี้ให้เกิดขึ้นมานานกว่า 100 ปีแล้ว”   ทีมงานที่ UT ได้พัฒนาแบบจำลองเพื่อพยากรณ์การเกิดแผ่นดินไหว โดยใช้ปัญญาประดิษฐ์และการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ ซึ่งนำไปใช้ในการแข่งขันที่กินเวลานานถึงสองปี เพื่อทำนายการเกิดแผ่นดินไหวแบบเรียลไทม์   หยางคัง เฉิน ผู้ช่วยอาจารย์ประจำสำนักเศรษฐธรณีวิทยา มหาวิทยาลัยเท็กซัส วิทยาเขตออสติน   หยางคัง เฉิน หัวหน้าทีมการแข่งขัน และเป็นผู้ช่วยอาจารย์ประจำสำนักเศรษฐธรณีวิทยาของ UT เผยว่า พวกเขาสามารถพยากรณ์แผ่นดินไหวได้แม่นยำสูงถึง 70% โดยสิ่งที่ทำนายได้มีทั้ง ความรุนแรง จุดเกิดเหตุ ไปจนถึงโอกาสของการเกิดแผ่นดินไหว ซึ่งเป็นปัจจัยที่ทำให้ทีมชนะการแข่งขัน   ผลการคาดการณ์แผ่นดินไหวโดยทีมงานจากมหาวิทยาลัยเท็กซัส   เฉิน…

ทำไมระบบ ‘ยืนยันตัวตน’ จึงกลายเป็นม้าโทรจันได้

Loading

แฮ็กเกอร์ใช้กลยุทธ์หลอกลวงผู้ใช้ให้มอบสิทธิอนุญาตการเข้าถึงระบบ ผู้บริหารองค์กรไม่ควรละเลยหรือมองข้าม แม้มีมาตรการรักษาความปลอดภัยแบบเดิมอยู่แล้ว แต่ในบางกรณีก็ไม่สามารถป้องกันภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่มีการพัฒนาอยู่อย่างไม่หยุดยั้งได้

ON THIS DAY: 14 พฤษภาคม 1948 ก่อตั้งรัฐอิสราเอล

Loading

รัฐอิสราเอลสถาปนาขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 1948 หลังการประกาศอิสรภาพจากเครือจักรภพอังกฤษ โดยมี เดวิด เบน-กูเรียน (David Ben-Gurion) ผู้นำองค์กรไซออนิสต์โลก (World Zionist Organization) เป็นนายกรัฐมนตรีอิสราเอลคนแรก

อาวุธนิวเคลียร์เชิงยุทธวิธี คืออะไร? ทำไมจึงสำคัญต่อภูมิศาสตร์การเมืองโลก?

Loading

กระทรวงกลาโหมรัสเซียกล่าวในวันจันทร์ว่า กองทัพจะจัดการซ้อมรบโดยมี “อาวุธนิวเคลียร์เชิงยุทธวิธี” เข้าร่วมด้วย ซึ่งถือเป็นครั้งแรกที่มีการประกาศซ้อมรบลักษณะนี้ให้สาธารณชนรับรู้

โปรแกรมเมอร์ระวัง ! ไฟล์บน GitHub อาจเป็นของปลอมแฝงมัลแวร์

Loading

ในวงการนักเขียนโปรแกรม หรือโปรแกรมเมอร์นั้นนอกจากการที่จะเรียนรู้โค้ดจากรุ่นพี่ อาจารย์ และการทดลองโค้ดจากเว็บไซต์ต่าง ๆ แล้ว Github ก็นับเป็นอีกหนึ่งแหล่งที่เต็มไปด้วยเพื่อนร่วมวงการจำนวนมากมาร่วมกันเผยแพร่ทั้งโค้ด ไฟล์งานต่าง ๆ จากการทำงาน รวมไปถึงเหล่านักพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ไม่หวังผลกำไรก็มาแชร์ทั้งไฟล์สำเร็จรูป และไฟล์สำหรับการพัฒนาต่อบนคอมมูนิตี้นี้ให้กับเพื่อนร่วมวงการได้นำไปสร้างสรรค์พัฒนาต่ออีกด้วย แต่คอมมูนิตี้ที่ใหญ่ขนาดนี้ก็ย่อมมีผู้มีประสงค์ร้ายที่หวังใช้งานเพื่อนร่วมวงการในการทำร้ายสังคมอยู่เช่นเดียวกัน และจากข่าวนี้โปรแกรมเมอร์อาจต้องระวังทั้งส่วนของตัวเอง และการที่อาจตกเป็นเครื่องมือของผู้ไม่ประสงค์ดี