ผู้เชี่ยวชาญพบข้อมูลอีเมลกว่า 70 ล้านอีเมลหลุดบนโลกออนไลน์
ทรอย ฮันต์ (Troy Hunt) ผู้สร้างเว็บไซต์ Have I Been Pwned ที่ใช้สำหรับดูว่าข้อมูลรหัสผ่านของตัวเองถูกแฮกหรือยัง เผยว่ามีการหลุดของข้อมูลอีเมลกว่า 70 ล้านอีเมล ที่มีกว่า 100 ล้านรหัสผ่าน
ทรอย ฮันต์ (Troy Hunt) ผู้สร้างเว็บไซต์ Have I Been Pwned ที่ใช้สำหรับดูว่าข้อมูลรหัสผ่านของตัวเองถูกแฮกหรือยัง เผยว่ามีการหลุดของข้อมูลอีเมลกว่า 70 ล้านอีเมล ที่มีกว่า 100 ล้านรหัสผ่าน
สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (สคส.) เร่งทำงานเชิงรุกตรวจสอบเฝ้าระวังการรั่วไหลและการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลของประชาชนอย่างต่อเนื่อง และมาตรการยกระดับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของประเทศ สกัดการรั่วไหลข้อมูลส่วนบุคคลกว่า 5,000 เคส
’ภูมิธรรม‘ เบรก ’ฝ่ายค้าน‘ ชงไลฟ์สดประชุม ‘งบฯปี67’ หวั่น เอาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ไม่เหมาะสม เชื่อ ไร้ปัญหาแบ่งสัดส่วนตำแหน่งในกมธ. การจัดสรรงบประมาณต้องทำให้ชัดเจนก่อน หากข้างในยังทำอะไรไม่เสร็จ แล้วมีคนมานั่งเฝ้าดู และเห็นว่าเป็นประโยชน์อะไรก็นำไปใช้ประโยชน์ คงไม่เหมาะสมเท่าไหร่
ปีที่ผ่านมา จากข้อมูลของตำรวจไซเบอร์ พบว่า ตั้งแต่ 1 มี.ค. 2565 ถึง 20 ธ.ค. 2566 พบ มูลค่าความเสียหายที่เกิดขึ้นจากภัยไซเบอร์รวมมากกว่า 5 หมื่นล้านบาท และมีข้อมูลรั่วไหล ซึ่งหนึ่งในนั้นอาจเป็นข้อมูลผ่านของเรา โดยเฉพาะคนที่ใช้รหัสผ่านเป็นข้อมูลส่วนบุคคล เช่น เบอร์โทรศัพท์ รหัสบัตรประชาชน เบอร์แฟน หรือเบอร์บ้าน ซึ่งทั้งหมดล้วนเป็นข้อมูลที่คนร้ายอาจรวบรวมและนำมาแฮ็กข้อมูลเราได้ และคนที่ใช้รหัสผ่านเดียว เที่ยวทั่วโลก
นายประเสริฐ จันทรรวงทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี) เปิดเผยว่า ตามที่นายกรัฐมนตรี ได้สั่งการให้ ดีอี แก้ปัญหาการหลุดรั่วของข้อมูลประชาชน ตลอดจนการซื้อขายข้อมูลประชาชนตามที่เป็นข่าว จึงได้เร่งดำเนินการ 6 มาตรการ ทั้งระยะเร่งด่วน ระยะ 6 เดือน และระยะ 12 เดือน และได้เสนอคณะรัฐมนตรีไปแล้วนั้น
5 คดีแก๊งคอลเซ็นเตอร์ประจำปี 2566 อาชญากรรมไซเบอร์ที่ดูดเงินคนไทยกว่า 4 หมื่นล้านบาทต่อปี ต้องยอมรับว่า ‘มิจฉาชีพ’ มีหลากหลายรูปแบบและสามารถเข้าถึงตัวเราได้ในหลายช่องทาง ยิ่งในยุคนี้ที่การสื่อสารเปิดกว้าง แทบจะทุกคนมีโทรศัพท์เป็นของตัวเอง ในส่วนของข้อดีโทรศัพท์ได้ช่วยทำให้การติดต่อระหว่างกันเป็นไปได้สะดวกง่ายขึ้น แต่ส่วนภัยร้ายที่แฝงมาก็อาจทำให้เกิดความสูญเสียจนถึงชีวิตได้เช่นกัน ก่อนจะพูดถึง 5 คดีความเสียหายหายที่เกิดจาก ‘แก๊งคอลเซ็นเตอร์’ ทีมข่าว TNN Online ได้สรุปตัวเลขเหตุอาชญากรรมทางเทคโนโลยีมาให้พิจารณา ซึ่งในระยะเวลาเพียง 1 ปีเท่านั้น คนไทยต้องสูญเสียทรัพย์สินให้กับการหลอกลวงรูปแบบนี้ไม่ต่ำกว่า 4.5 หมื่นล้านบาท อ้างอิงสถิติแจ้งความออนไลน์จากเว็บไซต์ www.thaipoliceonline.com ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 – 30 กันยายน 2566 มีจำนวน 365,547 เรื่อง แบ่งเป็นคดีออนไลน์ จำนวน 336,896 เรื่อง รวมมูลค่าความเสียหาย 45,738,507,864 บาท ตำรวจติดตามอายัดบัญชีได้ 167,347 บัญชี…
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว