เจาะลึกวิธีผู้ร้ายไซเบอร์ใช้ AI โจมตีองค์กร

Loading

แคสเปอร์สกี้ (Kaspersky) เตือนโลกรับมือผู้ร้ายไซเบอร์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ (AI) โจมตีองค์กร ชำแหละวิธีใช้ ChatGPT ช่วยเขียนมัลแวร์-นำ AI มาใช้ในการโจมตีทางไซเบอร์ ด้วยการเขียนสคริปต์ซอฟตฺแวร์ประสงค์ร้ายแบบที่ไม่ต้องใช้ความรู้ความเชี่ยวชาญใด ๆ

อีคอมเมิร์ซแอป เป้าหมายใหม่ การโจมตีทางไซเบอร์ (จบ)

Loading

ภัยคุกคามทางไซเบอร์สำหรับแอปพลิเคชันอีคอมเมิร์ซมีหลากหลายรูปแบบ อย่างเช่น ฟิชชิ่ง (Phishing) เป็นการโจมตีที่หลอกล่อให้เหยื่อคลิกลิงก์ไปยังเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชันที่เป็นอันตราย โดยการส่งอีเมลหรือข้อความที่ทำให้ดูเหมือนส่งจากแหล่งที่เชื่อถือได้

CoinEx ข้อมูลความปลอดภัยรั่ว คาดแฮ็กเกอร์ดูดข้อมูลลูกค้าไปกว่า 27 ล้านราย

Loading

วันที่ 12 กันยายน CoinEx แพลตฟอร์มซื้อขายแลกเปลี่ยนคริปโทเคอเรนซี่ที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ประสบปัญหาด้านความปลอดภัย โดยมีรายงานว่ามีการบุกรุกและเข้าถึงข้อมุลส่วนบุคคลของลูกค้าที่เป็นนักลงทุนมากกว่า 27 ล้านรายการ

ปัญหาขององค์กรคืออะไร? เมื่อความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมาพร้อมกับภัยคุกคามไซเบอร์ที่หลีกเลี่ยงไม่ได้

Loading

“สมัยนี้ธุรกิจจำเป็นต้องขับเคลื่อนด้วยข้อมูล เพื่อการวิเคราะห์ คาดการณ์ และบริหารงานต่าง ๆ ซึ่งก็เป็นแรงจูงใจให้องค์กรโยกย้ายข้อมูลต่าง ๆ เข้าสู่โลกออนไลน์ เพื่อให้สามารถใช้ข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ  แต่ในทางตรงกันข้ามก็เป็นตัวกระตุ้นชั้นดีให้กับมิจฉาชีพที่จ้องจะฉวยโอกาสจากช่องโหว่ เพื่อเข้าถึงข้อมูลสำคัญ ๆ

รัฐบาลอินเดียแจ้งเตือนความเสี่ยงด้านความปลอดภัยระดับ “สูง” ของ Android

Loading

ทีมตอบสนองเหตุฉุกเฉินทางคอมพิวเตอร์ของอินเดีย (CERT-In หรือ ICERT) ภายใต้กระทรวงอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศของรัฐบาลอินเดีย ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักในการจัดการภัยคุกคามและการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ได้ออกคำเตือนบนเว็บไซต์ของ CERT-In เกี่ยวกับช่องโหว่หลายประการและความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในระดับ “สูง” ของระบบปฏิบัติการ Android

อีคอมเมิร์ซแอป เป้าหมายใหม่ การโจมตีทางไซเบอร์ (1)

Loading

  ในปี 2566 แนวโน้มทิศทางการโจมตีทางไซเบอร์บนแอปพลิเคชันอีคอมเมิร์ซ (E-commerce) ตกเป็นเป้าหมายหลักเลยก็ว่าได้   เนื่องจากธุรกิจอีคอมเมิร์ซกลายเป็น Omnichannel เพิ่มเรื่อย ๆ และมีการสร้างและปรับใช้อินเทอร์เฟซ API มากขึ้น โดยแฮ็กเกอร์จะใช้ประโยชน์จากการหาช่องโหว่ต่าง ๆ เพื่อเปิดการโจมตี   นี่คือเหตุผลว่าทำไมการทดสอบและการหมั่นตรวจสอบระบบอย่างต่อเนื่องจึงมีความสำคัญมากในการช่วยหาจุดอ่อนให้ได้อย่างรวดเร็วและเป็นการป้องกันเว็บแอปพลิเคชันอย่างมีประสิทธิภาพ   วันนี้ผมจึงอยากหยิบยกเรื่องการโจมตีแพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซของ Honda มาพูดถึงว่ามันเกิดขึ้นได้อย่างไร รวมถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อธุรกิจและกลุ่มลูกค้า   การโจมตีแพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซของฮอนด้าที่จัดจำหน่ายสินค้าเกี่ยวกับอุปกรณ์ไฟฟ้า ไม่ว่าจะเป็นเครื่องตัดหญ้า เครื่องยนต์ติดท้ายเรือ เป็นต้น ได้เกิดข้อผิดพลาดของ API ที่ทำให้ไม่ว่าจะใครก็สามารถขอรีเซ็ตรหัสผ่านของบัญชีผู้ใช้งานใดก็ได้   หากแฮ็กเกอร์ค้นพบสิ่งนี้ได้ แน่นอนว่าจะเป็นการละเมิดข้อมูลครั้งใหญ่อีกครั้งหนึ่ง เพราะการสูญเสียการควบคุมในการเข้าถึงทำให้บุคคลอื่นสามารถเข้าถึงข้อมูลทั้งหมดบนแพลตฟอร์มได้ แม้ว่าจะเข้าสู่ระบบด้วยบัญชีสำหรับใช้ทดสอบ (Test Account) ก็ตาม โดยผู้ทดสอบสามารถเข้าถึงข้อมูลต่อไปนี้ได้ทั้งหมด   คำสั่งซื้อของลูกค้าเกือบ 24,000 รายจากตัวแทนจำหน่ายฮอนด้าทุกแห่งตั้งแต่ ส.ค. 2559 ถึง มี.ค. 2566 รวมถึงชื่อที่อยู่และหมายเลขโทรศัพท์ของลูกค้า เว็บไซต์ตัวแทนจำหน่ายที่ใช้งานอยู่ 1,091 แห่งซึ่งสามารถแก้ไขไซต์เหล่านี้ได้, ผู้ใช้งาน/บัญชีตัวแทนจำหน่าย…