Digital Twin: พลิกโฉมจัดการภัยพิบัติยุคใหม่

Loading

  ภัยพิบัติทางธรรมชาติมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นด้วยความถี่ที่มากขึ้นและรุนแรงขึ้นในอนาคต แม้ประเทศไทยจะอยู่ในเขตที่เกิดภัยพิบัติไม่มากนัก แต่การเกิดขึ้นแต่ละครั้งก็ทำให้เราไม่ได้เตรียมตัวที่ดีหรือระมัดระวังอย่างเพียงพอ   การเกิดอุทกภัยครั้งใหญ่แต่ละครั้ง ประชาชนจำนวนมากก็มักจะรอจนน้ำมาถึงระดับหนึ่งแล้วจึงอพยพซึ่งอาจจะไม่ทันการณ์และทำให้ความช่วยเหลือเป็นไปด้วยความยากลำบาก   ในประเทศที่ก้าวหน้าในหลายประเทศ เช่น สิงคโปร์ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา ได้นำเทคโนโลยี Digital Twin หรือ ฝาแฝดดิจิทัล มาใช้ร่วมในการจัดการภัยพิบัติทางธรรมชาติ   Digital Twins เป็นเทคโนโลยีที่จำลองสภาพแวดล้อมและระบบทางกายภาพในโลกจริงให้ไปอยู่ในรูปแบบ “โลกดิจิทัล” แบบจำลองของวัตถุ ระบบ หรือโครงสร้างต่าง ๆ จะสะท้อนการทำงานและการเปลี่ยนแปลงในโลกจริง   การใช้ Digital Twin ช่วยให้เราสามารถตรวจสอบสถานการณ์ วิเคราะห์ข้อมูล และทดลองวิธีแก้ไขปัญหาในสภาพแวดล้อมเสมือนจริงในดิจิทัลได้ล่วงหน้า โดยไม่ต้องเสี่ยงกับความเสียหายต่อวัตถุหรือสถานการณ์จริง   Digital Twins นำมาใช้ในการจัดการภัยพิบัติ จึงช่วยจำลองสถานการณ์ทั้งก่อนและหลังเกิดเหตุ เช่น แผ่นดินไหว น้ำท่วม ดินถล่ม ในพื้นที่เสี่ยง ช่วยคำนวณผลกระทบต่อโครงสร้างพื้นฐาน และวางแผนอพยพประชาชนได้อย่างแม่นยำ   ในญี่ปุ่นนำ Digital Twin มาใช้จัดการภัยพิบัติโดยสร้างแบบจำลองเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต เทคโนโลยีนี้ช่วยให้ภาครัฐและผู้เชี่ยวชาญสามารถทดสอบแนวทางการตอบสนองในสภาพแวดล้อมปลอดภัยหรือโลกดิจิทัลก่อน…

‘คนไทย’ เชื่อมั่น ‘เอไอ’ มากไปหรือไม่?

Loading

  วันก่อนผมไปเห็นโพสต์ของอาจารย์สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ที่สอนทางด้าน “เอไอ” บนโซเชียลมีเดียท่านหนึ่งเขียนว่า “ตอนนี้เป็นห่วงคนใช้เอไอ   วันก่อนผมไปเห็นโพสต์ของอาจารย์สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ที่สอนทางด้าน “เอไอ” บนโซเชียลมีเดียท่านหนึ่งเขียนว่า “ตอนนี้เป็นห่วงคนใช้เอไอที่ 1. เชื่อว่าทุกอย่างที่เอไอบอกเป็นเรื่องจริง ไม่ตรวจสอบ เชื่อหมดใจ และ 2. นำข้อมูลส่วนบุคคลป้อนให้เอไอ” อ่านแล้วนึกถึงกระแสเอไอที่กำลังมาแรงในบ้านเรา คนไทยใช้เอไอมากขึ้นแทบทุกเรื่อง จึงอดสงสัยไม่ได้ว่าคนไทยมั่นใจเอไอมากเกินไปหรือไม่?   ผมค้นไปพบ “ผลสำรวจ AI Monitor 2024” ของบริษัท Ipsos ซึ่งสำรวจทัศนคติของผู้คนใน 32 ประเทศทั่วโลกเกี่ยวกับเทคโนโลยีเอไอรวมทั้งประเทศไทย การสำรวจนี้ดำเนินการโดย Ipsos ผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ Global Advisor ระหว่างวันที่ 19 เม.ย. – 3 พ.ค.2024 มีผู้เข้าร่วมการสำรวจทั้งสิ้น 23,685 คน จาก 32 ประเทศทั่วโลก   กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยประชากรประมาณ 1,000 คนในแต่ละประเทศหลักๆ เช่น…

ตำรวจญี่ปุ่นจับกุมผู้ต้องสงสัยก่อเหตุปาระเบิดเพลิงใส่สำนักงานใหญ่พรรครัฐบาล

Loading

เอเอฟพีรายงาน เมื่อวันเสาร์ที่ 19 ตุลาคม 2567 กล่าวว่า เกิดเหตุคุกคามสำนักงานใหญ่ของพรรคเสรีประชาธิปไตย (แอลดีพี) ซึ่งเป็นพรรครัฐบาลญี่ปุ่น เมื่อวัตถุต้องสงสัยที่เชื่อว่าเป็นระเบิดเพลิงหลายลูกถูกปาเข้าใส่อาคารสำนักงาน เบื้องต้นไม่มีรายงานการบาดเจ็บหรือเสียชีวิต

ระเบิดถี่-บึ้มปาดี ผสมโรงการเมือง-ขบวนการฯกดดันคดีตากใบ

Loading

โฆษก กอ.รมน.ภาค 4 ส่วนหน้า ชี้ คนร้ายก่อเหตุป่วนถี่ยิบช่วงนี้ โดยเฉพาะวางระเบิด 4 ลูกที่สุไหงปาดี นราธิวาส หวังผสมโรงฝ่ายการเมือง – ขบวนการแยกดินแดน หวังส่งสัญญาณก่อนคดีตากใบขาดอายุความ

สช. กำชับ 6 แนวทางการพานักเรียนไปนอกสถานศึกษาของโรงเรียนเอกชนทั่วประเทศ

Loading

ากเหตุการณ์ไฟไหม้รถบัสทัศนศึกษาของนักเรียน เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2567 เป็นเหตุทำให้นักเรียน และครูเสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ด้านความปลอดภัยของนักเรียนและครู

สิ่งที่จีนไม่ได้บอก แต่โลกต้องตีความ กับการยิงขีปนาวุธข้ามทวีปครั้งแรกในรอบ 44 ปี

Loading

    ในระหว่างที่ทั่วโลกมุ่งความสนใจไปที่ตะวันออกกลางที่กำลังมีสงครามร้อนระอุ จีนยิงขีปนาวุธข้ามทวีป (ICBM) ไปตกในมหาสมุทรแปซิฟิก ที่น่าสนใจก็เพราะเป็นการทดสอบ ICBM แบบเปิดเผยต่อสาธารณะครั้งแรกในรอบ 44 ปี คำถามคือ ทำไมต้องเลือกเวลานี้ และจุดประสงค์แท้จริงคืออะไร   เรารู้อะไรเกี่ยวกับการยิง ICBM รอบนี้   สิ่งที่เรารู้จากข้อมูลที่เปิดเผยออกมา บวกกับรายงานข่าวและบทวิเคราะห์คือ ขีปนาวุธลูกนี้เดินทางในอากาศรวมระยะทาง 12,000 กิโลเมตร จากฐานยิงในมณฑลไห่หนาน ทางใต้ของจีน บินเฉียดน่านฟ้าฟิลิปปินส์ และเกาะกวมของสหรัฐอเมริกา ก่อนจะตกใกล้หมู่เกาะมาร์เคซัสของฝรั่งเศสในมหาสมุทรแปซิฟิก   จีนชี้แจงว่าเป็นส่วนหนึ่งของการฝึกซ้อมตามปกติของกองกำลังจรวด โดยที่ไม่ได้มุ่งเป้าไปที่ประเทศใดประเทศหนึ่งเป็นการเฉพาะ และได้แจ้งให้สหรัฐฯ และฝรั่งเศส ทราบล่วงหน้าแล้วว่าจะยิงขีปนาวุธรอบนี้ ซึ่งสหรัฐฯ บอกว่าเป็นนิมิตหมายดีที่จีนสื่อสาร และหวังว่าจะสื่อสารเช่นนี้เป็นประจำหากจีนจะทดสอบอาวุธทางยุทธศาสตร์แบบนี้อีกในอนาคต   แม้จีนจะไม่บอกรายละเอียดว่าขีปนาวุธ ICBM ที่ทดสอบด้วยหัวรบจำลองคือรุ่นอะไร เป็นแบบไหน แต่นักวิเคราะห์และผู้สังเกตการณ์ทางทหารได้อาศัยภาพถ่ายที่จีนเผยแพร่และมีข้อสรุปว่า น่าจะเป็นขีปนาวุธในตระกูลตงเฟิง-31 (DF-31)   ตงเฟิงแปลว่า ‘ลมตะวันออก’ เป็นชื่อที่จีนใช้เรียกขีปนาวุธที่ผลิตในประเทศ โดยมีเลขกำกับท้ายบอกชื่อรุ่น สำหรับ DF-31 เป็นขีปนาวุธ ICBM…