เวียดนามเผยบริษัทโซเชียลลบ “เนื้อหาอันตราย” จี้ติ๊กต็อกทำเพิ่ม

Loading

เมื่อวันที่ 7 ต.ค. ว่า กระทรวงข่าวสารและการสื่อสารของเวียดนามออกแถลงการณ์ ว่าระหว่างกลางเดือน ส.ค.-กลางเดือน ก.ย. ที่ผ่านมา ผู้ให้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ บล็อกหรือลบเนื้อหา “ต่อต้านรัฐ” และ “บิดเบือน” หรือให้ข้อมูลผิดพลาด ตามคำร้องของทางการเวียดนาม ดังนี้ ยูทูบ 380 วิดีโอ เฟซบุ๊ก 364 โพสต์ และติ๊กต็อก 33 รายการ

หัวหน้าพรรคคอมมิวนิสต์ไต้หวันถูกฟ้องข้อหาแทรกซึมฝักใฝ่จีน

Loading

เอเอฟพีรายงาน เมื่อวันพุธที่ 4 ตุลาคม 2566 กล่าวว่า อัยการไต้หวันสั่งฟ้องหลิน เท-วัง ประธานพรรคคอมมิวนิสต์ประชาชนไต้หวัน ในข้อหาละเมิดกฎหมายต่อต้านการแทรกซึม คำฟ้องดังกล่าวมีขึ้นในขณะที่ไต้หวันกำลังเข้าสู่การเลือกตั้งประธานาธิบดีและสมาชิกรัฐสภาในเดือนมกราคม ท่ามกลางความสัมพันธ์ที่ย่ำแย่ลงกับจีนแผ่นดินใหญ่ ซึ่งอ้างว่าเกาะที่ปกครองตนเองแห่งนี้เป็นดินแดนของตน

จีนเล็งออกกฎหมายห้ามแต่งกายที่ “ทำร้ายความรู้สึก” ประเทศ

Loading

จีนเตรียมออกกฎหมายห้ามเผยแพร่คำพูดและห้ามสวมใส่เสื้อผ้า หรือบังคับให้ผู้อื่นสวมใส่เสื้อผ้า ที่จะกระทบกระเทือนจิตวิญญาณความเป็นจีน ผู้ใดฝ่าฝืนอาจจำคุก 15 วัน หรือปรับ 5,000 หยวน

รัสเซียตราหน้านักข่าวโนเบลสันติภาพเป็น “ตัวแทนต่างชาติ”

Loading

  รัสเซียเพิ่มชื่อของนายดมิทรี มูราทอฟ ผู้สื่อข่าวเจ้าของรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพประจำปี 2565 ในรายชื่อ “ตัวแทนต่างชาติ” ซึ่งเป็นคำกำกับที่ทางการมักจะใช้ เพื่อยับยั้งนักวิจารณ์   สำนักข่าวเอเอฟพี รายงานจากกรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย เมื่อวันที่ 4 ก.ย. ว่า ความเคลื่อนไหวดังกล่าว ซึ่งมุ่งเป้าไปที่มูราทอฟ บรรณาธิการบริหารของ “โนวายา กาเซตา” หนังสือพิมพ์อิสระชั้นนำของรัสเซีย เป็นส่วนหนึ่งของการปราบปรามในวงกว้าง ต่อสถาบันภาคประชาสังคม   กระทรวงยุติธรรมรัสเซีย ให้เหตุผลเกี่ยวกับการตัดสินใจข้างต้นว่า มูราทอฟใช้แพลตฟอร์มต่างประเทศ เพื่อเผยแพร่ความคิดเห็นที่มีจุดมุ่งหมายสร้างทัศนคติเชิงลบต่อนโยบายต่างประเทศ และนโยบายภายในประเทศของรัสเซีย รวมทั้งกล่าวหาว่า เขาสร้างและเผยแพร่เนื้อหาจากตัวแทนต่างชาติรายอื่น ๆ ด้วย   Nobel laureate placed on Russia’s ‘foreign agents’ list Journalist Dmitry Muratov has been accused of spreading anti-Russian sentimentshttps://t.co/FIhVX4Jie5 pic.twitter.com/zK5hB31Y9j…

เดจาวู

Loading

  อาร์เจนตินาได้รับผลกระทบจากกระแสการปล้นสะดม ซึ่งเพิ่มความตึงเครียดทางการเมือง ก่อนถึงการเลือกตั้งประธานาธิบดี ในเดือน ต.ค. นี้ ท่ามกลางวิกฤติทางการเงินอย่างอัตราเงินเฟ้อต่อปี ซึ่งอยู่ที่ 113%   ภาพของร้านค้าที่ถูกรื้อค้น ปลุกความทรงจำของวิกฤติเศรษฐกิจอาร์เจนตินา เมื่อปี 2544 ซึ่งประสบกับการผิดนัดชำระหนี้ครั้งใหญ่ และการล่มสลายของของระบบธนาคาร จนนำไปสู่เหตุการณ์ปล้นสะดมทั่วประเทศที่เต็มไปด้วยความสิ้นหวัง   แม้บางคนมองว่า การปล้นที่เกิดขึ้นเป็นผลมาจากวิกฤติเศรษฐกิจในปัจจุบัน แต่คนอีกส่วนหนึ่งกลับมีความเห็นว่า มันคือความพยายามที่จัดฉากไว้แล้ว โดยมีจุดประสงค์เพื่อบ่อนทำลายเสถียรภาพของประเทศ ก่อนการเลือกตั้งผู้นำคนใหม่ ในวันที่ 22 ต.ค. นี้   Al Jazeera English   ระดับความยากจนในอาร์เจนตินาอยู่ที่ 40% และเมื่อเกิดปัญหาเงินเฟ้อ รัฐบาลจึงลดค่าเงินเปโซอาร์เจนตินา 20% เมื่อช่วงต้นเดือนที่ผ่านมา ส่งผลให้ธุรกิจต่าง ๆ ปรับราคาสินค้าเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย   นายราอุล กาสเตลส์ ผู้นำขบวนการประท้วงทางสังคม “ปิเกเตโร” (piquetero) ของอาร์เจนตินา กล่าวว่า เขาสนับสนุนการปล้นสะดมที่เกิดขึ้น และความผิดที่แท้จริงคือ ราคาอาหาร  …

กอ.รมน.ซัด “ประชามติแยกดินแดน” ภัยความมั่นคง-ลุยดำเนินคดี!

Loading

  รุ่นใหญ่ออกโรง! “พล.ต.ปราโมทย์” ในหมวก “โฆษก กอ.รมน.ภาค 4” ออกแถลงการณ์ชี้ชัด “ประชามติแยกดินแดน” ขัดต่อกฎหมาย ทำไม่ได้ เป็นภัยต่อความมั่นคง ลุยรวบรวมหลักฐานดำเนินคดี ด้าน “กัณวีร์ สืบแสง” เลขาธิการพรรคเป็นธรรม โดดหนี อ้างไม่ต้องการไปถึงขั้นนั้น แต่สมาชิกพรรคร่วมวงเสวนา หนุนเอกราชสุดตัว   วันพฤหัสบดีที่ 8 มิ.ย.66 พล.ต.ปราโมทย์ พรหมอินทร์ รองแม่ทัพภาคที่ 4 และโฆษกกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 4 (กอ.รมน.ภาค 4) ออกแถลงการณ์ชี้แจงกรณี “ขบวนนักศึกษาแห่งชาติ” จัดปาฐกถาพิเศษ และมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับการทำประชามติแยกดินแดน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และ 4 อำเภอของ จ.สงขลา   แถลงการณ์ระบุ่า ตามที่ได้มีการจัดงานเปิดตัว ขบวนนักศึกษาแห่งชาติ (Pelajar Kebangsaan) เมื่อวันที่ 7 มิ.ย.2566 ณ ห้องประชุมศรีวังสา คณะรัฐศาสตร์…