CoinEx ข้อมูลความปลอดภัยรั่ว คาดแฮ็กเกอร์ดูดข้อมูลลูกค้าไปกว่า 27 ล้านราย

Loading

วันที่ 12 กันยายน CoinEx แพลตฟอร์มซื้อขายแลกเปลี่ยนคริปโทเคอเรนซี่ที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ประสบปัญหาด้านความปลอดภัย โดยมีรายงานว่ามีการบุกรุกและเข้าถึงข้อมุลส่วนบุคคลของลูกค้าที่เป็นนักลงทุนมากกว่า 27 ล้านรายการ

ระบบคลาวด์ของรัฐบาลศรีลังกาถูกโจมตีด้วยแรนซัมแวร์

Loading

เมื่อ 11 ก.ย.66 ทีมเตรียมพร้อมฉุกเฉินและศูนย์ประสานงานทางคอมพิวเตอร์ของศรีลังกา (CERT/CC) ภายใต้สำนักงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของศรีลังกา (ICTA) ระบุว่าระบบคลาว์ของรัฐบาลศรีลังกา (Lanka Government Cloud – LCG) ถูกโจมตีด้วยแรนซัมแวร์

มือถือถูกติดตาม ถูกสะกดรอยหรือไม่ กับ 8 สัญญาณมือถือคุณอาจถูกติดตามโดยคนอื่นที่คุณต้องระวัง

Loading

มือถือถูกติดตาม ถูกสะกดรอยหรือไม่ นี่คือสิ่งที่ควรรู้และสังเกตมือถือคุณ แฮ็กเกอร์สามารถติดตามโทรศัพท์ของคุณได้อย่างง่ายดายโดยที่คุณไม่รู้ตัว ทั้งนี้ มือถือคุณและอุปกรณ์ต่าง ๆ ซอฟต์แวร์ และแอปเกือบทั้งหมดจะมีส่วนประกอบในการตรวจสอบและติดตามอยู่ภายใน

BlackCat แฮ็กเกอร์จากรัสเซียเจาะข้อมูล 4 องค์กรออสเตรเลีย ขโมยข้อมูลกว่า 5 เทระไบต์

Loading

BlackCat แฮ็กเกอร์จากรัสเซียอ้างว่าได้ขโมยข้อมูลจากองค์กรอย่างน้อย 4 แห่ง ในรัฐวิกทอเรีย ประเทศออสเตรเลีย มากกว่า 5 เทระไบต์ อาทิ MediPath องค์กรให้บริการทางการแพทย์ Strata Plan ผู้ให้บริการซอฟต์แวร์จัดการองค์กร และ Barry Plant บริษัทนายหน้าอสังหาริมทรัพย์

เช็กให้แน่ ดูให้ชัวร์ อยู่ไกลกลลวง Phishing

Loading

  Phishing เป็นคำพ้องเสียงจากคำว่า Fishing หมายถึงการตกปลา เป็นการเปรียบเทียบว่า เหยื่อล่อที่ใช้ตกปลาคือกลวิธีที่มิจฉาชีพใช้หลอกลวง โดยมักเป็นการปลอมอีเมลหรือหน้าเว็บไซต์ที่มีข้อความ ทำให้ผู้อ่านหลงเชื่อว่า เป็นความจริงจนตกเป็นเหยื่อ   โดยกลวิธีหลอกล่อ Phishing มีดังนี้ – ปลอมอีเมล : ให้ดูเหมือนของหน่วยงานที่น่าเชื่อถือ เช่น ธนาคาร โดยเขียนข้อความในอีเมลเชิงหลอกล่อเพื่อให้เหยื่อส่งข้อมูลส่วนตัวกลับไป หรือให้เหยื่อคลิกลิงก์ไปยังหน้าเว็บไซต์ปลอม – ปลอมเว็บไซต์ : ให้ดูเหมือนเว็บไซต์ทางการเงิน เช่น ธนาคารออนไลน์ ซึ่งเป็นช่องทางที่จะนำไปสู่บัญชีเก็บเงินของลูกค้า เมื่อเหยื่อหลงเชื่อกรอกข้อมูล รหัสประจำตัว และ Password มิจฉาชีพก็สามารถเข้าถึงและทำธุรกรรมทางการเงินของเราได้ทันที   คำแนะนำ 1. URL : ไม่คลิกลิงก์ที่แนบมาในอีเมล์ของคนที่เราไม่รู้จัก ถ้าต้องการเข้าเว็บไซต์ ให้พิมพ์ URL เอง 2. E-mail : ระวังอีเมลที่ขอให้ส่งข้อมูลส่วนตัวกลับไป หรืออีเมลที่มาพร้อมกับลิงก์ 3. HTTPS : โดยปกติธนาคารจะใช้งาน HTTPS เพื่อป้องกันการโจมตีทางเครือข่าย…

โจรไซเบอร์ ใช้เครื่องหมายติ๊กถูกบน X บัญชีปลอม-ลวงเหยื่อ

Loading

  อาชญากรไซเบอร์ ใช้เครื่องหมายติ๊กถูกบน X สร้างความน่าเชื่อถือ-หลอกลวงเหยื่อ   ก่อนหน้านี้ ทาง X ออกมาเปลี่ยนนโยบายของบัญชีที่มี “X Premium” (Twitter Blue ในชื่อเดิม) หรือเครื่องหมายติ๊กถูกสีฟ้า จากแต่เดิมคือ ต้องเป็นบุคคลสาธารณะหรือบัญชีทางการของบริษัทหรือองค์กรต่าง ๆ เท่านั้นถึงจะสามารถมีเครื่องหมายดังกล่าวได้ เปลี่ยนมาเป็นทุกบัญชีสามารถมีเครื่องหมายติ๊กถูกสีฟ้าได้ เพียงจ่าย 11 ปอนด์ต่อเดือนเท่านั้น (ราว 488 บาท)     ทำให้ ลิซ่า เวบบ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายขององค์กร Which? องค์กรรณรงค์การคุ้มครองผู้บริโภคกล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงข้อกำหนดของบัญชีที่มี X Premium ทำให้มีโอกาสการเกิดอาชญากรรมไซเบอร์บนแพลตฟอร์ม X เพิ่มขึ้น เนื่องจากทุกบัญชีที่จ่ายค่า X Premium สามารถสร้างความน่าเชื่อถือให้ตนเองได้ทุกบัญชี   เดอะการ์เดียน สื่อดังจากอังกฤษ รายงานกรณีตัวอย่างว่า พบผู้เสียหายรายหนึ่งที่ถูกอาชญากรไซเบอร์เล็งโจรกรรมข้อมูลผ่านบัญชี X (ทวิตเตอร์ในชื่อเดิม) ที่อาศัยเครื่องหมายติ๊กถูกสีน้ำเงิน ซึ่งเป็นเครื่องหมายที่ยืนยันบัญชีของบุคคลหรือบริษัทอย่างเป็นทางการ แอบอ้างเป็นบริษัทจองโรงแรมและเที่ยวบินอย่าง…