SIM Swap คืออะไร? ภัยร้ายออนไลน์ที่อาจทำให้คุณสูญเสียเงินคริปโทจนหมดตัว

Loading

ซิมสวอปก็ถือเป็นกลโกงที่ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา เนื่องจากเป็นวิธีการที่ง่ายและมีประสิทธิภาพในการเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลของเหยื่อ โดยในบทความนี้เราจะมาทำความรู้จักเกี่ยวกับ Sim Swap ว่าคืออะไร ? และสามารถเข้าถึงเงินลงทุนของคุณได้อย่างไร

ระวังแอป Visit Japan ปลอม ขโมยข้อมูลนักท่องเที่ยวไปญี่ปุ่น

Loading

เพจสถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจำประเทศไทย ได้แชร์จาก สำนักงานดิจิทัลแห่งประเทศญี่ปุ่น ว่า เนื่องจากในขณะนี้ได้พบเห็น แอปพลิเคชันให้บริการ Visit Japan Web ปลอม ที่มีชื่อว่า “VISIT JAPAN WEB INFO” (日本語は以下)ขอแจ้งให้ทราบว่า ญี่ปุ่นไม่ได้ให้บริการ Visit Japan ผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ

ระวังแอปปลอม แอบอ้างเป็นแอปแจ้งความตำรวจ ปลอมทั้งแอปและเว็บ Play Store พร้อมวิธีสังเกต

Loading

ระวังแอปปลอม แอบอ้างเป็นแอปแจ้งความตำรวจ หลังพบมีมิจฉาชีพสร้างแอปปลอมเพื่อหลอกขโมยเงิน ขโมยข้อมูลส่วนตัว โดยแอบอ้างเป็นแอปเจ้าหน้าที่ตำรวจ บก.ปอท. ใช้ชื่อแอปว่า “TCSD Protect”

วิธีสังเกตเพจปลอม เพจหลอกลวง

Loading

วิธีสังเกตเพจปลอม เพจหลอกลวง หลังช่วงนี้เพจเฟซบุ๊ก ปลอม COPY เพจของแท้เยอะขึ้น ทั้งโรงแรม และร้านค้าบน Facebook เพื่อหวังหลอกผู้ซื้อให้โอนเงิน ดังนั้นบทความนี้จะบอกวิธีสังเกตของแท้ของปลอม รวมถึงวิธีสังเกตคนขายด้วย

เตือนภัย! มิจฉาชีพแอบอ้างเป็น จนท.กบข. หลอกให้ปรับปรุงข้อมูลส่วนบุคคล

Loading

  มิจฉาชีพใช้วิธีหลอกลวงผ่านทางโซเชียลหลายรูปแบบ เพจ สืบนครบาล IDMB รายงานว่า รูปแบบแผนประทุษกรรมของมิจฉาชีพ มีดังนี้   – มิจฉาชีพแอบอ้างว่าเป็นเจ้าหน้าที่กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)โดยใช้เบอร์ส่วนตัวโทรหาสมาชิก   – อ้างว่าได้จัดส่งเอกสารให้ทางไปรษณีย์ และเร่งให้รีบดำเนินการ อ้างว่า เนื่องจากใกล้สิ้นสุดกำหนดเวลา   – โดยมิจฉาชีพจะส่งลิงค์และให้เข้าทำรายการผ่านทางเว็บไซต์ปลอม   กบข. ชี้แจงว่า กบข. ไม่มีนโยบายให้เจ้าหน้าที่ติดต่อสมาชิกให้ดำเนินการใด ๆ เกี่ยวกับการปรับปรุงข้อมูลส่วนบุคคล กบข. ไม่สามารถปรับปรุงข้อมูลบัญชีเงินเดือนของสมาชิกได้ เนื่องจาก เป็นอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานต้นสังกัดสมาชิกเท่านั้น   นอกจากนี้ กบข. ได้มีนโยบายยกเลิกส่งข้อความที่มีการแนบลิงก์ผ่านช่องทาง SMS ทุกกรณี เพื่อป้องกันมิจฉาชีพแอบอ้างและเพิ่มความปลอดภัยให้สมาชิก   Facebook page ของ กบข. มีเพจเดียวเท่านั้น คือ เพจทางการที่มีเครื่องหมายถูกสีฟ้าหลังชื่อเพจ ส่วนกรณีที่มีเจ้าหน้าที่ กบข. ติดต่อหาสมาชิกจะใช้เบอร์ 02-6361000 เท่านั้น จะไม่มีการใช้เบอร์ส่วนตัวโทรหาสมาชิกโดยเด็ดขาด   หากประชาชนได้รับการติดต่อจากบุคคลที่ไม่สามารถยืนยันตัวตนได้ว่าเป็นเจ้าหน้าที่ของ…

โจรไซเบอร์ ใช้เครื่องหมายติ๊กถูกบน X บัญชีปลอม-ลวงเหยื่อ

Loading

  อาชญากรไซเบอร์ ใช้เครื่องหมายติ๊กถูกบน X สร้างความน่าเชื่อถือ-หลอกลวงเหยื่อ   ก่อนหน้านี้ ทาง X ออกมาเปลี่ยนนโยบายของบัญชีที่มี “X Premium” (Twitter Blue ในชื่อเดิม) หรือเครื่องหมายติ๊กถูกสีฟ้า จากแต่เดิมคือ ต้องเป็นบุคคลสาธารณะหรือบัญชีทางการของบริษัทหรือองค์กรต่าง ๆ เท่านั้นถึงจะสามารถมีเครื่องหมายดังกล่าวได้ เปลี่ยนมาเป็นทุกบัญชีสามารถมีเครื่องหมายติ๊กถูกสีฟ้าได้ เพียงจ่าย 11 ปอนด์ต่อเดือนเท่านั้น (ราว 488 บาท)     ทำให้ ลิซ่า เวบบ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายขององค์กร Which? องค์กรรณรงค์การคุ้มครองผู้บริโภคกล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงข้อกำหนดของบัญชีที่มี X Premium ทำให้มีโอกาสการเกิดอาชญากรรมไซเบอร์บนแพลตฟอร์ม X เพิ่มขึ้น เนื่องจากทุกบัญชีที่จ่ายค่า X Premium สามารถสร้างความน่าเชื่อถือให้ตนเองได้ทุกบัญชี   เดอะการ์เดียน สื่อดังจากอังกฤษ รายงานกรณีตัวอย่างว่า พบผู้เสียหายรายหนึ่งที่ถูกอาชญากรไซเบอร์เล็งโจรกรรมข้อมูลผ่านบัญชี X (ทวิตเตอร์ในชื่อเดิม) ที่อาศัยเครื่องหมายติ๊กถูกสีน้ำเงิน ซึ่งเป็นเครื่องหมายที่ยืนยันบัญชีของบุคคลหรือบริษัทอย่างเป็นทางการ แอบอ้างเป็นบริษัทจองโรงแรมและเที่ยวบินอย่าง…