ตร.ไซเบอร์ เตือนระวัง มิจฉาชีพหลอกโอนเงินช่วยเหลือน้ำท่วม-ลงทะเบียนรับเยียวยา
เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม ตำรวจไซเบอร์ได้ออกมาเตือนภัย ระวังมิจฉาชีพหลอกผู้ต้องการช่วยเหลือโอนเงิน และหลอกผู้ประสบภัยลงทะเบียนเยียวยา ความว่า
เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม ตำรวจไซเบอร์ได้ออกมาเตือนภัย ระวังมิจฉาชีพหลอกผู้ต้องการช่วยเหลือโอนเงิน และหลอกผู้ประสบภัยลงทะเบียนเยียวยา ความว่า
เรียกได้ว่าเป็นกระแสที่กลายเป็นไวรัลอย่างมากอยู่ในขณะนี้ หลังเมื่อวันที่ 18 ส.ค. 67 มีการแชร์โพสต์จากผู้ใช้เพจเฟซบุ๊ก “Drama-addict” เผยเคสอุทาหรณ์เตือนภัยมุกยอดฮิตที่มิจฉาชีพนำไปใช้ซ้ำ หลังมีอีเมลปริศนาแจ้งเตือนเข้ามาว่า มีการสั่งซื้อมือถือ อีกทั้งยังให้กดรหัส Apple ID เพื่อยืนยันตัวตน ดังนั้น ขอเตือนด้วยความห่วงใยว่าอย่ากดอนุญาตเป็นเด็ดขาด เพราะมีความเป็นไปได้ว่า คุณอาจจะกำลังตกเป็นเป้าหมายของการถูกมิจฉาชีพหลอกลวงได้
ธนาคารสิงคโปร์ ยกเลิกระบบ #OTP ใช้โทเคนดิจิทัล ปลอดภัยขึ้น แต่ก็ยังไม่รอด ถ้ามิจฉาชีพจะโกง จากความเห็นของอาจารย์ปริญญา หอมเอนก ผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ประธานกรรมการ บริหาร บริษัท เอซิส โปรเฟสชั่นนัล เซ็นเตอร์ จำกัด
ปัจจุบัน หลายประเทศทั่วโลกไม่เว้นแม้แต่ประเทศไทยต้องเผชิญกับปัญหาการคุกคามของเหล่าบรรดามิจฉาชีพและแก๊งแฮกเกอร์ที่ต่างพยายามหาวิธีและรูปแบบการโจมตีที่แปลกใหม่เพื่อหลบเลี่ยงการตรวจจับ
กรณีที่มีกลุ่มมิจฉาชีพหลอกลวงประชาชน โดยการหลอกให้ติดตั้งแอปพลิเคชันเพื่อขโมยเงิน หรือที่เรียกว่า แอปดูดเงิน (Mobile Banking Trojan) โดยใช้กระบวนการทางไซเบอร์ ทำให้สูญเสียเงินกว่า 2,600 ล้านบาท (สถิติระหว่างวันที่ 1 มี.ค.65 – 31 พ.ค.67) นับเป็นภัยไซเบอร์ระดับร้ายแรง แต่ปัจจุบันการป้องกันแก้ไขปัญหาดังกล่าวมีความล่าช้า นายประเสริฐ จันทรรวงทอง รมว.ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ในฐานะประธานกรรมการกำกับดูแลด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (กกม.) จึงได้ประกาศยกระดับจัดให้ภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่เกิดจากแอปดูดเงิน เป็นภัยคุกคามทางไซเบอร์ในระดับร้ายแรง
สรุปผลดำเนินงาน รักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ 1 ต.ค.65-30 ก.ย.66 แนวโน้มนปี 2567 Hacked Website ยังเป็นภัยคุกคามที่มีโอกาสพบเป็นจำนวนมาก
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว