ไทย ‘ไม่รอด’ ถูกมิจฉาชีพใช้ ‘แอป’ หลอกเหยื่อเพิ่มขึ้น
ปัจจุบัน หลายประเทศทั่วโลกไม่เว้นแม้แต่ประเทศไทยต้องเผชิญกับปัญหาการคุกคามของเหล่าบรรดามิจฉาชีพและแก๊งแฮกเกอร์ที่ต่างพยายามหาวิธีและรูปแบบการโจมตีที่แปลกใหม่เพื่อหลบเลี่ยงการตรวจจับ
ปัจจุบัน หลายประเทศทั่วโลกไม่เว้นแม้แต่ประเทศไทยต้องเผชิญกับปัญหาการคุกคามของเหล่าบรรดามิจฉาชีพและแก๊งแฮกเกอร์ที่ต่างพยายามหาวิธีและรูปแบบการโจมตีที่แปลกใหม่เพื่อหลบเลี่ยงการตรวจจับ
กรณีที่มีกลุ่มมิจฉาชีพหลอกลวงประชาชน โดยการหลอกให้ติดตั้งแอปพลิเคชันเพื่อขโมยเงิน หรือที่เรียกว่า แอปดูดเงิน (Mobile Banking Trojan) โดยใช้กระบวนการทางไซเบอร์ ทำให้สูญเสียเงินกว่า 2,600 ล้านบาท (สถิติระหว่างวันที่ 1 มี.ค.65 – 31 พ.ค.67) นับเป็นภัยไซเบอร์ระดับร้ายแรง แต่ปัจจุบันการป้องกันแก้ไขปัญหาดังกล่าวมีความล่าช้า นายประเสริฐ จันทรรวงทอง รมว.ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ในฐานะประธานกรรมการกำกับดูแลด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (กกม.) จึงได้ประกาศยกระดับจัดให้ภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่เกิดจากแอปดูดเงิน เป็นภัยคุกคามทางไซเบอร์ในระดับร้ายแรง
สรุปผลดำเนินงาน รักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ 1 ต.ค.65-30 ก.ย.66 แนวโน้มนปี 2567 Hacked Website ยังเป็นภัยคุกคามที่มีโอกาสพบเป็นจำนวนมาก
เตือนภัย! เช็ก 3 วิธีตั้งค่า “Facebook เฟซบุ๊ก” ให้ปลอดภัยจากมิจฉาชีพ ป้องกันไม่ให้ถูกแฮ็กข้อมูลธนาคาร-บัตรเครดิต ดูดเงินหมดบัญชี พร้อมข้อมูล วิธีแก้ไขหากมือถือถูกแฮ็ก หรือข้อมูลในโทรศัพท์ไม่ปลอดภัย
เปิด 6 แนวทางรับมือ เมื่อรู้ตัวว่ามือถือของเราโดนแฮ็ก ปกป้องความเป็นส่วนตัวของข้อมูล ป้องกันผู้อื่นติดกับดักจากมือถือเรา!
ดูยังไง! LINE ออกโรงเตือนเอง มิจฉาชีพส่ง SMS แอบอ้างชื่อไลน์ให้ล็อกอิน หลอกคลิกลิงค์ปลอม ให้รักษาสถานะการใช้งาน เสี่ยงถูกดูดข้อมูลส่วนตัว เสียเงินเปล่า มีข้อสงสัยต้องติดต่อที่ไหน?
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว