“โกงออนไลน์” ภาพสะท้อนสังคมไทยยุคไซเบอร์ ธนาคารต้องรับผิดชอบ?

Loading

“โกงออนไลน์” ภาพสะท้อนสังคมไทยยุคไซเบอร์ เล่ห์กลเล่นกับใจมนุษย์ ความเสียหายที่สถาบันการเงินควรร่วมรับผิดชอบ?

‘ทุกข์ไทย!’ยุคไซเบอร์ ‘ภัยลวงออนไลน์’ สถิติ‘ใครเสี่ยงที่สุด?’

Loading

“6 หมื่นกว่าล้านบาท” เป็น “มูลค่าความเสียหาย” ที่เกิดขึ้นกับ “คดีหลอกลวงทางออนไลน์” ในช่วงตั้งแต่ เดือน มี.ค. 2566 ถึงเดือน มิ.ย. 2567 หรือเฉลี่ยมูลค่าที่เหยื่อสูญไป เฉลี่ยอยู่ที่วันละกว่า 80 ล้านบาท!!!

“กลลวงยุคไซเบอร์” ที่เราควรรู้ทันทุกขณะ | ปริญญา หอมเอนก

Loading

การหลอกลวงมนุษย์ ตั้งแต่การตกทองแบบปกติที่ไม่เกี่ยวข้องกับอินเทอร์เน็ต จนมาถึง การตกทองผ่านทางอินเทอร์เน็ต ตั้งแต่แชร์แม่ชม้อยที่มีการนำกลยุทธตกทองกลับมาใช้อย่างแยบยล มาถึงวันนี้การหลอกลวงด้วยกลยุทธแบบเดิมๆก็ยังไม่ล้มหายตายจากไป แต่ดูเหมือนจะยิ่งเพิ่มมากขึ้นและมีรูปแบบที่ซับซ้อนขึ้นด้วย ไม่ว่าจะเป็น Romance Scam Sextortion แก๊ง Call Center แก๊งหลอกโอน รวมไปถึงการหลอกลวงบนสื่อโซเชียล การหลอกลวงผ่านแชตที่เกิดขึ้นทั้งทาง LINE , Facebook , IG และ Twitter (ซึ่งแพลตฟอร์มต่างๆ ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ กับการหลอกลวงดังกล่าว) ล่าสุดที่กำลังร้อนแรงคือ การหลอกลวงเด็กนักเรียนนักศึกษาให้หารายได้พิเศษ มิจฉาชีพจะใช้ช่องทาง Twitter ตั้งข้อความติดแฮชแท็กที่ดึงดูด เช่น #งานออนไลน์ได้เงินจริง #งานออนไลน์ไม่จำกัดอายุ เมื่อเหยื่อหลงเชื่อเข้าไปคลิกเข้าไปคุยด้วย ก็จะบอกให้เพิ่มเพื่อนทาง LINE จากนั้นปฏิบัติการหลอกลวงต้มตุ๋นก็จะเริ่มต้นขึ้น ด้วยการชักชวนให้ลงทุนในเกมส์ออนไลน์ที่มีลักษณะคล้ายบ่อนพนันออนไลน์ บอกให้เหยื่อเข้าไปที่ Web Application ที่สร้างเอาไว้ซึ่งมีหน้าตาคล้ายคลึงกับ Mobile App ใน App มีให้เล่นเกม เสี่ยงโชคคล้ายกับไฮโล มีสูงต่ำ และ มีระบบโอนเงินเข้าออก หน้า App…