ระวังอ้างเป็นคราวด์สไตรก์หลอกต้มตุ๋น
CISA ยังได้กำชับให้องค์กรต่างๆ เตือนพนักงานหลีกเลี่ยงการคลิกอีเมลฟิชชิ่งหรือลิงก์ที่น่าสงสัย ทั้งนี้ให้เฝ้าระวังและปฏิบัติตามคำแนะนำจากแหล่งที่มาที่ถูกต้องเท่านั้น
CISA ยังได้กำชับให้องค์กรต่างๆ เตือนพนักงานหลีกเลี่ยงการคลิกอีเมลฟิชชิ่งหรือลิงก์ที่น่าสงสัย ทั้งนี้ให้เฝ้าระวังและปฏิบัติตามคำแนะนำจากแหล่งที่มาที่ถูกต้องเท่านั้น
เว็บไซต์ The Hacker News พบว่า ปัจจุบันนั้นกลุ่มแฮ็กเกอร์ได้ค้นพบวิธีการโจมตีเครื่องคอมพิวเตอร์ตระกูล Mac ด้วยวิธีใหม่ ซึ่งเป็นการใช้โฆษณา และเว็บไซต์ปลอม ที่จะทำให้เครื่อง Mac นั้นติดมัลแวร์ขโมยข้อมูล (Stealer)
Python Package Index หรือ PyPI คลังซอฟต์แวร์ภาษา Python ยังตกเป็นเป้าโจมตีของแฮ็กเกอร์อย่างต่อเนื่อง
เชื่อเถอะว่า แม้เราจะมีระบบป้องกันที่ดีมากแค่ไหน แฮ็กเกอร์เค้าก็จะพยายามหารูปแบบการโจมตีทีหลีกเลี่ยงระบบป้องกันไปให้ได้ โดยล่าสุดมีความพยายามจะโจมตีฟิชชิ่ง ด้วยการใช้ภาพ QR Code ปกติแล้ว บริการอีเมลต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น Gmail หรือ Outlook เค้าจะมีระบบตรวจสอบฟิชชิ่ง ซึ่งจะใช้ AI ในการคัดกรองข้อความ หากพบว่าเป็นฟิชชิ่งที่มีลิงก์แนบมา ก็จะลบออกหรือแจ้งให้ผู้ใช้รู้ก่อนคลิก แล้วอีเมลฟิชชิ่งหน้าตาเป็นแบบไหน ? ส่วนใหญ่ก็มักจะอ้างว่า เป็นฝ่ายสนันสนุนของ Microsoft , Google หรืออื่น ๆ พร้อมกับสร้าง Story หลอกให้เรากดลิงก์ เช่น “สวัสดี นี่คือฝ่ายสนับสนุนของ Microsoft คุณต้องยืนยันการใช้งานรหัสแบบสองขั้นตอน ในทันที ไม่งั้นบัญชีของคุณอาจถูกล็อก” พร้อมกับส่งลิงก์ให้ ซึ่งถ้าเป็นข้อความในลักษณะข้างต้น Microsoft จะทำการบล็อคไปครับ แต่ตอนนี้แฮ็กเกอร์เปลี่ยนวิธีจากการใส่ลิงก์ มาเป็นการส่งภาพ QR Code ให้เราสแกน ทำให้สามารถหลีกเลี่ยงระบบตรวจจับไปได้ หากเราสแกน…
นักวิจัยที่ Guardio Labs ได้ตรวจพบแคมเปญการโจมตีใหม่โดยใช้งานส่วนขยายของ Chrome Web Store เป็นสื่อกลางในการเข้าถึงผู้ใช้งาน ส่วนขยายทั้งหมดเป็นตัวเลือกที่ให้ผู้ใช้เปลี่ยนสีต่าง ๆ ของหน้าเว็บเบราว์เซอร์ ซึ่งมีมากกว่า 30 ตัว และมียอดดาวน์โหลดรวมกันมากกว่า 1 ล้านครั้ง แอปทั้งหมดสามารถผ่านระบบตรวจสอบของ Google เบื้องต้นได้ เพราะแอปเหล่านี้จะทำตัวเองให้ดูเหมือนว่าปลอดภัย ซึ่งจะสามารถหลบเลี่ยงการตรวจสอบความปลอดภัยได้ นักวิเคราะห์จึงตั้งชื่อแคมเปญนี้ว่า “Dormant Colours” (Dormant แปลว่า สงบเงียบ หรืออยู่เฉย ๆ ) การติดไวรัสเริ่มต้นด้วยการที่ผู้ใช้คลิกโฆษณาหรือลิงก์แปลก ๆ เช่นลิงก์ดูวีดิโอหรือลิงก์โหลดโปรแกรม โดยเมื่อคลิกไปแล้ว เราจะถูกเปลี่ยนเส้นทางไปจากหน้าต่างใหม่ที่พยายามจะให้เราติดตั้งส่วนขยายเพิ่มเติม เพื่อให้สามารถเปิดดูวีดิโอได้หรือดาวน์โหลดโปรแกรมได้สำเร็จครับ แน่นอนว่า ในการติดตั้งนั้นจะไม่มีมัลแวร์ติดตั้ง แอปจะทำหน้าที่ของมันตามปกติ แต่เมื่อติดตั้งไปสักพัก ส่วนขยายเหล่านี้จะพยายามดาวน์โหลดส่วนเสริมที่อันตรายมาติดตั้งในเครื่อง หรือแม้กระทั่งแทรกลิงก์ฟิชชิ่งที่พยายามจะขโมยบัญชี Microsoft 365 หรือ Google Workspace ครับ …
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว