Smart City เหนือกว่า High Tech คือ High Touch
“สมาร์ทซิตี้” หรือ “เมืองอัจฉริยะ” หมายถึง เมืองที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัยและชาญฉลาด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหารและจัดการเมือง
“สมาร์ทซิตี้” หรือ “เมืองอัจฉริยะ” หมายถึง เมืองที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัยและชาญฉลาด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหารและจัดการเมือง
การขับเคลื่อนรัฐบาลดิจิทัลตลอด 4 ปีที่ผ่านมา เป็นผลจากความร่วมมือของทุกหน่วยงาน ตั้งแต่ สำนักงาน ก.พ.ร. ที่ขับเคลื่อนการปฏิรูประบบราชการ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาที่ผลักดัน พ.ร.บ.วิ อิเล็กทรอนิกส์
หัวเว่ยประกาศความพร้อมสนับสนุนประเทศไทยในการก้าวสู่เมืองอัจฉริยะอย่างเต็มรูปแบบ ยกทัพนวัตกรรม-เทคโนโลยีล้ำยุค พร้อมผนึกกำลังสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (ดีป้า) ดีป้าเปิดงานสัมมนาพิเศษฟอรัมพิเศษเร่งการเปลี่ยนแปลงเมืองอย่างเป็นรูปธรรม ภายในงาน “ไทยแลนด์ สมาร์ทซิตี้ ฟอรัม 2023 (Thailand Smart City 2023)”
หากพูดถึงโครงสร้างเศรษฐกิจในปัจจุบันรูปแบบพิรามิด ประกอบด้วยฐานล่างสุดเกษตรกร 8-12 ล้านคนสัดส่วนจีดีพีน้อยมาก ถ้าไม่ทำให้มีรายได้เพิ่มขึ้นเพิ่มจีดีพียาก ส่วนตรงกลางหรือผู้ประกอบการ SME จำนวน 3 ล้านรายหรืออาจถึง 5-6 ล้านราย ยังสามารถทำจีดีพีได้นิดเดียว 35-40% ส่วนบนสุดของพิรามิดคือยักษ์ใหญ่มีสัดส่วนจีดีพีถึง 50% คำถามของความเป็น “เมืองอัจฉริยะ” หรือ สมาร์ทซิตี้
ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ผู้อำนวยการใหญ่สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ ดีป้า กล่าวว่า หากพูดถึงโครงสร้างเศรษฐกิจในปัจจุบันรูปแบบพิรามิด ประกอบด้วยฐานล่างสุดเกษตรกร 8-12 ล้านคนสัดส่วนจีดีพีน้อยมาก ถ้าไม่ทำให้มีรายได้เพิ่มขึ้นเพิ่มจีดีพียาก ส่วนตรงกลางหรือผู้ประกอบการ SME จำนวน 3 ล้านรายหรืออาจถึง 5-6 ล้านราย ยังสามารถทำจีดีพีได้นิดเดียว 35-40% ส่วนบนสุดของพิรามิดคือยักษ์ใหญ่มีสัดส่วนจีดีพีถึง 50% คำถามของความเป็น “เมืองอัจฉริยะ” หรือ สมาร์ทซิตี้ ก็คือ คนระดับล่างๆ หรือ ผู้ประกอบการ SME หรือ ประชาชนส่วนใหญ่ 10 กว่าล้านคนของพิรามิดจะได้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลได้อย่างไร
การขับเคลื่อนพัฒนา “เมืองอัจฉริยะ” หรือ “สมาร์ทซิตี้” ถือเป็นหนึ่งนโยบายที่รัฐบาลให้ความสำคัญ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 หมุดหมายที่ 8 เพื่อให้ประเทศไทย การขับเคลื่อนพัฒนา “เมืองอัจฉริยะ” หรือ “สมาร์ทซิตี้” ถือเป็นหนึ่งนโยบายที่รัฐบาลให้ความสำคัญ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 หมุดหมายที่ 8 เพื่อให้ประเทศไทยมีพื้นที่และเมืองอัจฉริยะ ที่น่าอยู่ ปลอดภัย เติบโตได้อย่างยั่งยืน!?! ซึ่งทางกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) โดยสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (ดีป้า) ได้ดำเนินการส่งเสริมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในระดับท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง โดยระหว่างปี 2564-2565 ประเทศไทยมีเมืองที่ได้รับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะประเทศไทยแล้ว 30 เมือง!?! ทิศทาง การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ของไทยต่อจากนี้จะเป็นอย่างไร? หาคำตอบได้ด้านล่างนี้?!? ชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส)” บอกว่า รัฐบาลมีนโยบายนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาเมืองในพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ ให้ยกระดับสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะ ช่วยลดความเหลื่อมล้ำ ทำให้เมืองเจริญทันสมัย และน่าอยู่ ช่วยพัฒนาความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิต ของประชาชนอย่างทั่วถึง “ภายในสิ้นปี 66 นี้มีเป้าหมายจะส่งเสริมเเมืองอัจฉริยะ เพิ่มขึ้นอีกไม่น้อยกว่า 15 เมืองรวมเป็น 45 เมือง และประเมินว่าการพัฒนา เมืองอัจฉริยะจะช่วยให้เกิดโอกาสการลงทุนจากหน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนรวม มูลค่ากว่า 60,000 ล้านบาท และจะมีการสร้างมูลค่าการลงทุนที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในอนาคต” อย่างไรก็ตาม…
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว