“ดีอี”เตือนอย่าเชื่อ “เหยื่อจากคอลเซ็นเตอร์ ลงทะเบียนขอรับเงินคืน 3 ช่องทาง” เป็นเพจปลอม

Loading

    นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ รองปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี) ในฐานะโฆษกกระทรวงฯ กล่าวถึงผลการมอนิเตอร์และรับแจ้งข่าวปลอมของศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ระหว่างวันที่ 27 กันยายน–3 ตุลาคม 2567 พบข้อความที่เข้ามาทั้งหมด 835,553 ข้อความ โดยมีข้อความที่ต้องดำเนินการตรวจสอบ (Verify) ทั้งสิ้น 337 ข้อความ รวมเรื่องที่ต้องดำเนินการตรวจสอบทั้งหมด 182 เรื่อง และจากการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้รับผลการตรวจสอบกลับมาแล้ว 101 เรื่อง โดยในจำนวนนี้มีข่าวปลอมที่เกี่ยวข้องกับอาชญากรรมออนไลน์ที่ประชาชนให้ความสนใจมากที่สุด จำนวน 10 อันดับ ได้แก่   อันดับที่ 1 : เรื่อง เหยื่อจากคอลเซ็นเตอร์ ลงทะเบียนขอรับเงินคืน 3 ช่องทาง ผ่านเพจ ศูนย์ช่วยเหลือเหยื่อมิจฉาชีพทางออนไลน์ อันดับที่ 2 : เรื่อง เปิดให้ลงทุนในธุรกิจค้าปลีกประเภทร้านสะดวกซื้อ เริ่มต้น 1,200 บาท ผลตอบแทน 10–30% กำกับดูแลโดย…

แม่บ้านกัมพูชาถูกมาเลเซียเนรเทศกลับประเทศหลังวิจารณ์ผู้นำเขมรผ่านสื่อโซเชียล

Loading

เอพี – หญิงชาวกัมพูชาที่ทำงานเป็นแม่บ้านในมาเลเซียถูกเนรเทศกลับประเทศ หลังโพสต์วิพากษ์วิจารณ์ผู้นำรัฐบาลกัมพูชาทางสื่อสังคมออนไลน์ นับเป็นตัวอย่างล่าสุดที่รัฐบาลของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ช่วยเหลือกันจับกุมผู้เห็นต่างทางการเมือง

สหราชอาณาจักรจำคุกชายข้อหาโพสต์เนื้อหาเกี่ยวกับการก่อการร้ายทางออนไลน์

Loading

เว็บไซต์หน่วยบัญชาการต่อต้านการก่อการร้ายของสหราชอาณาจักร รายงานเมื่อ 26 ก.ย.67 ว่า จนท.ตำรวจนครบาลลอนดอนได้จับกุม นาย Ayoub Nacir อายุ 21 ปี ข้อหาโพสต์และแบ่งปันเนื้อหาเกี่ยวกับการก่อการร้ายของกลุ่มรัฐอิสลาม (ISIS) ผ่านช่องทางออนไลน์ อันเป็นผลมาจากการสืบสวนเชิงรุกของตำรวจนครบาลในการปราบปรามการก่อการร้าย

ศาลซาอุดีอาระเบียสั่งจำคุกครูเกษียณนาน 30 ปี ฐานวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล

Loading

สำนักข่าวเอเอฟพี รายงานจากกรุงริยาด ประเทศซาอุดีอาระเบีย เมื่อวันที่ 25 ก.ย. ว่า โทษประหารชีวิตของนายโมฮัมเหม็ด อัล-กัมดี เน้นย้ำถึงสิ่งที่นักวิจารณ์หลายคนที่อธิบายว่าเป็นการปราบปรามที่เพิ่มขึ้น ภายใต้การปกครองของเจ้าชายโมฮัมเหม็ด บิน ซัลมาน มกุฎราชกุมารและนายกรัฐมนตรีแห่งซาอุดีอาระเบีย

เกาหลีใต้ : วาระแห่งชาติ

Loading

รัฐบาล หน่วยงานกำกับดูแล และตำรวจเกาหลีใต้ ให้คำมั่นว่าจะต่อสู้กับเทคโนโลยี “ดีปเฟค” ที่แสวงหาประโยชน์ทางเพศ พร้อมกับเรียกร้องเทเลแกรม และบริษัทสื่อสังคมออนไลน์แห่งอื่น ให้ความร่วมมือ

แกะรอย “โดรนต้องสงสัย” ฝีมือใครป่วน?

Loading

จากข่าวในสื่อสังคมออนไลน์ปลายด้ามขวาน แชร์ข้อมูลที่อ้างว่ามาจากเครือข่ายผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามจังหวัดชายแดนภาคใต้ แจ้งว่า มีการพบเห็น “โดรน” บินสอดแนมในพื้นที่ของโรงเรียนปอเนาะในเวลากลางคืน