กสทช. ย้ำ ไม่มีนโยบายลงทะเบียนซิม เพื่อยืนยันตัวตน!
สำนักงาน กสทช. ย้ำ ไม่มีนโยบายรับลงทะเบียนซิม เพื่อยืนยันตัวตนผ่านทุกช่องทาง แนะอย่าหลงเชื่อมิจฉาชีพแอบอ้างให้กดลิงก์ผ่าน SMS
สำนักงาน กสทช. ย้ำ ไม่มีนโยบายรับลงทะเบียนซิม เพื่อยืนยันตัวตนผ่านทุกช่องทาง แนะอย่าหลงเชื่อมิจฉาชีพแอบอ้างให้กดลิงก์ผ่าน SMS
เมื่อเราอยู่ในยุคที่ เอไอ เฟื่องฟู เราต้องคิดให้ทันว่า สิ่งที่เราเห็นทั่วไป เป็นข้อมูลจริงหรือเปล่า สุดท้ายความจริงแล้วคืออะไร เราอาจต้องเตือนใจไว้ทุกครั้งว่า อย่าเชื่อทุกสิ่งที่เห็นในทันที “ปัญญาประดิษฐ์” หรือเอไอ กลายเป็นเทคโนโลยีเพียงหนึ่งเดียวในยุคนี้ที่ถูกพูดถึงมากที่สุด ทุกคนเชื่อว่า เอไอ จะเข้ามาเปลี่ยนแปลงทุกสรรพสิ่งในโลก เสมือนดึงฉาก เอไอ ในหนังฮอลลีวู้ดเมื่อหลายปีที่แล้วออกมาสู่โลกแห่งความเป็นจริง ความแพร่หลายของการใช้เอไอ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง หลายวงสนทนา เอ่ยอ้างถึง Generative AI ซึ่งเป็น เอไอ ที่ถูกออกแบบให้มีความสามารถ อัจฉริยะถึงขั้นสามารถ “สร้างสิ่งใหม่” จากชุดข้อมูลที่มีอยู่ ปฏิเสธไม่ได้ว่า การเติบโตของเอไอ มาพร้อมความท้าทาย หากมองว่า เอไอ คือ เทคโนโลยีหนึ่งที่มีทั้งด้านมืดและด้านสว่าง แน่นอนว่า วันนี้เราเริ่มเห็น “ความร้ายกาจ” ของเอไอในด้านมืดมากขึ้น โดยเฉพาะการสร้างคอนเทนต์ที่ไม่เหมาะสม การเพิ่มขึ้นของข่าวปลอม การใช้เอไอปลอมเป็นบุคคลแล้วนำไปสู่กระบวนการหลอกลวง สร้างผลเสียตามมาหาศาล นั่นเป็นเพราะกติกาของโลกวิ่งไล่ตามการพัฒนาของเอไอไม่ทัน แต่ก็มีหลายองค์กร พยายามหาแนวทางการอยู่ร่วมกับเอไอ ได้แบบมีขอบเขต มีกติกา…
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เตือนภัยประชาชน ไม่แชต ไม่รับแอด ไม่โอนเงิน ผ่านบัญชีโซเชียล 5 รูปแบบ ลดโอกาสเสี่ยงถูกมิจฉาชีพหลอกลวง!
รายงาน Security 360 ประจำปีล่าสุดของ Jamf ที่รวบรวมข้อมูลจากอุปกรณ์ Windows, Android และ Apple รวม 15 ล้านชิ้นจาก 90 ประเทศทั่วโลก พบว่าความปลอดภัยไซเบอร์บนมือถืออยู่ในระดับที่ต่ำที่สุด
มีเจ้าหน้าที่ฝ่ายสินเชื่อสถาบันการเงินเอกชนแห่งหนึ่ง คือ นายสุวรรณ อายุ 42 ปี ชาว จ.นนทบุรี มีพฤติกรรมลักลอบนำข้อมูลลูกค้าของสถาบันการเงินตนเอง มาดัดแปลง แก้ไข และนำไปจำหน่ายต่อให้กลุ่มที่สนใจ เช่น ตัวแทนสินเชื่อ ตัวแทนประกัน
พ่อค้าเร่ปั่นจักรยานผ่านป้ายแสดงภาพและรายชื่อผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดีอินโดนีเซีย ในกรุงจาการ์ตา เมื่อ 22 มกราคม 2024 (ที่มา:AP) ภาพและเสียงสังเคราะห์จากเทคโนโลยีดีพเฟคกำลังสร้างความสับสนให้กับฐานเสียงในประเทศที่กำลังจะมีการเลือกตั้ง จนนักวิเคราะห์จับตามองว่าปี 2024 ที่ประชาชนในกว่า 60 ประเทศจะต้องเข้าคูหา จะมีการใช้ AI สร้างข่าวลือข่าวลวงเพื่อหวังผลทางการเมืองอย่างแพร่หลาย ในช่วงหลายสัปดาห์ก่อนการเลือกตั้งในอินโดนีเซียที่จะมีขึ้นในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ประชาชนผู้ลงคะแนนเสียงต่างต้องเจอกับวิดีโอและเสียงของนักการเมืองหลายคน ซึ่งแท้ที่จริงถูกสังเคราะห์ขึ้นมาโดยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) ที่เรียกกันว่า ดีพเฟค (Deepfakes) ยกตัวอย่างเช่นวิดีโอของอดีตประธานาธิบดีซูฮาร์โตที่เผยแพร่ในแอปพลิเคชันติ๊กตอก (TikTok) ซานตี อินดรา อัสตูตี จาก Mafindo ซึ่งเป็นเครือข่ายตรวจสอบข้อเท็จจริงในอินโดนีเซีย ระบุว่า การใช้ AI สังเคราะห์เนื้อหาขึ้นมา เป็นสิ่งที่สร้างความแตกต่างให้กับการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งในปี 2024 เทียบกับครั้งก่อน ๆ อัสตูตีกล่าวว่า “ในการเลือกตั้งปี 2024 การโจมตีคู่แข่งในปีนั้นมักใช้ข่าวลวงกันเป็นส่วนใหญ่ ในปี 2019 ข่าวลวงถูกใช้โจมตีผู้จัดการเลือกตั้ง ในขณะที่ปี 2024 เราเห็นการยกระดับที่พิลึกพิลั่นขึ้นไปอีกเพื่อโจมตีกระบวนการทางประชาธิปไตยทั้งองคาพยพ”…
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว