ChatGPT ภาพหลอน และการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล

Loading

  หลาย ๆ ท่านอาจเคยได้ยินว่า Generative AI อาจให้ข้อมูลที่ผิดพลาดหรือไม่ตรงกับความเป็นจริงได้ ดังนั้น ผู้ใช้งานโมเดลภาษาขนาดใหญ่ (LLM: Larger language models) จึงต้องมีความตระหนักรู้ในข้อจำกัดของเทคโนโลยีประกอบด้วย   ข้อมูลที่ผิดพลาดอาจจะเป็นข้อเท็จจริงพื้นฐาน หรืออาจจะเป็นข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลก็ได้ ลองจินตนาการว่าหาก Generative AI ให้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับตัวท่าน เช่น “วันเดือนปีเกิด” ท่านในฐานะของผู้ใช้งานโมเดลภาษาหเล่านั้นหรือเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลที่ไม่ถูกต้อง   และโดยเฉพาะอย่างยิ่งหากมีการให้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องที่อาจสร้างความเสื่อมเสียต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล   ท่านจะมีสิทธิตามกฎหมายอย่างไรบ้างหรือไม่ เพื่อจะทำให้ข้อมูลส่วนบุคคลของตนที่ถูกประมวลผลหรือแสดงผลโดย Generative AI นั้นถูกต้อง หรือขอให้ลบข้อมูลเหล่านั้นออกจากการประมวลผลหรือการแสดงผลลัพธ์   การที่ระบบปัญญาประดิษฐ์หรือ AI สร้างข้อมูลหรือเนื้อหาที่ไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นความจริง ในทางเทคนนิค เรียกว่า AI Hallucination หรือการประดิษฐ์ภาพหลอนโดย AI   คือกรณีนี้เป็นสถานการณ์ที่ AI สร้างข้อมูลหรือเนื้อหาที่ไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นความจริง ซึ่งเป็นผลลัพธ์การตอบสนองที่สร้างโดย AI ที่ให้ข้อมูลที่เป็นเท็จหรือทำให้เข้าใจผิดว่าเป็นข้อเท็จจริง     เปรียบเสมือนภาพหลอนในจิตวิทยาของมนุษย์ที่อาจเกิดจากข้อจำกัดของโมเดล AI เอง…

กต.ชี้สู้รบเมียนมาไม่แน่นอน ย้ำหลักการรักษาดินแดนไทย

Loading

    โฆษก​ กต.​เผย​ที่ประชุม คกก.เฉพาะกิจสถานการณ์ในเมียนมา​ย้ำ​หลัก​การ 3​ ข้อ ยึดมั่นอธิปไตย ไม่ใช้ไทยทำกิจกรรมต่อต้านรัฐบาล​และให้การช่วยเหลือตามหลักมนุษยธรรม​   วันนี้ (23 เม.ย.2567) นายนิกรเดช พลางกูร อธิบดีกรมสารนิเทศและโฆษกกระทรวงการต่างประเทศ (กต.) เปิดเผยหลังการประชุมคณะกรรมการ​เฉพาะกิจ​บริหารสถานการณ์​อันเนื่องมาจากความไม่สงบในเมียนมา​ ว่า ที่ประชุมฯ ได้ประเมินสถานการณ์และต้องประเมินเป็นรายชั่วโมง เนื่องจากสถานการณ์มีความไม่แน่นอนสูง   ขณะที่ช่วงบ่ายวันนี้ นายปานปรีย์ พหิทธานุกร รองนายกรัฐมนตรีและ รมว.ต่างประเทศ​ จะเดินทางลงพื้นที่ อ.แม่สอด​ จ.ตาก ซึ่งจะทำให้เห็นภาพสถานการณ์ชัดขึ้น ทั้งเรื่องการสู้รบในฝั่งเมียนมา​ การดูแลความสงบเรียบร้อยของคนไทย รวมถึงการให้ความช่วยเหลือบนพื้นฐาน​หลักมนุษยธรรม​ ซึ่งมีความชัดเจนขึ้นในเรื่องปริมาณคนและวิธีให้การช่วยเหลือ   สำหรับการประชุมวันนี้ (23 เม.ย.) ได้ข้อสรุป 3 หลักการ​ คือ 1.การยึดมั่นรักษาอธิปไตยของไทย ซึ่งเป็นเรื่องหลักในการดูแลคนไทยที่ได้รับผลกระทบ, 2.ไม่ให้ใช้ดินแดนเขตไทยในการดำเนินกิจกรรมต่อต้านรัฐบาล​ต่างประเทศ​ ซึ่งเป็นหลักการปฏิบัติโดยปกติ และ 3.การยึดมั่นในหลักมนุษยธรรมโดยไม่เลือกปฏิบัติ ซึ่งเป็นหัวใจในการดำเนินงานและให้การช่วยเหลือกับทุกฝ่าย   โฆษก กต. ระบุอีกว่า…

รัสเซียปัดอยู่เบื้องหลัง “ฮาวานาซินโดรม” ในนักการทูต-สายลับสหรัฐฯ

Loading

เมื่อวันที่ 1 เม.ย. ดมิทรี เปสคอฟ โฆษกรัฐบาลรัสเซียได้ออกมาปฏิเสธรายงานฉบับหนึ่งที่ชี้ว่า หน่วยข่าวกรองทางทหารของรัสเซียอาจอยู่เบื้องหลังอาการป่วยลึกลับที่เรียกว่า “ฮาวานาซินโดรม” (Havana Syndrome) ซึ่งเกิดกับนักการทูตและสายลับของสหรัฐฯ หลายคนทั่วโลก

ยุโรปเข้ม รปภ.คริสต์มาส ได้ข้อมูลภัยก่อการร้าย

Loading

หลายประเทศในยุโรปเพิ่มมาตรการคุมเข้มความปลอดภัย โดยเฉพาะตลาดคริสต์มาสและโบสถ์ หวั่นตกเป็นเป้าก่อการร้าย เยอรมนี ฝรั่งเศสและออสเตรีย เพิ่มมาตรการรักษาปลอดภัยเข้มงวดเป็นพิเศษสำหรับเทศกาลคริสต์มาสปีนี้

ประเทศในยุโรปคุมเข้มชายแดนสกัดผู้อพยพ

Loading

สหภาพยุโรปกำลังรับมือกับจำนวนผู้อพยพเข้ามาอย่างถูกกฎหมายและผิดกฎหมายเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้รัฐสมาชิกบางประเทศเริ่มใช้มาตรการควบคุมชายแดนอีกครั้งชั่วคราวภายในเขตที่ปกติเป็นเขตการเคลื่อนย้ายอย่างเสรี

ผลสำรวจเผยผู้คนกว่า 85 เปอร์เซ็นต์ กังวลการบิดเบือนข้อมูลในโลกออนไลน์

Loading

ผลสำรวจผู้คนกว่า 8,000 คนทั่วโลก ยอมรับมีความรู้สึกเป็นกังวลอิทธิพลของสื่อในโลกออนไลน์ เนื่องจากผู้คนในเวลานี้รับข่าวสารจากโซเชียลมีเดียเป็นหลัก โดย ผอ. ด้านวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ กล่าวกับผู้สื่อข่าวเมื่อ 6 พ.ย. ว่า การบิดเบือนข้อมูล และคำพูดที่แสดงความเกลียดชังบนโลกออนไลน์ ได้ถูกเร่งและขยายจากแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดีย ซึ่งส่งผลต่อความเสี่ยงด้านความร่วมมือทางสังคม สันติภาพ และเสถียรภาพ