ระวัง ‘Fake Trading Apps’ ใน Google Play และ App Store ขโมยเงิน

Loading

ปัจจุบันอัตราการใช้สมาร์ตโฟนเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพราะมีฟังก์ชันการใช้งานที่ตอบโจทย์การใช้ชีวิตโดยเมื่อเร็ว ๆ นี้ มีการเปิดเผยให้เห็นแนวโน้มของปริมาณ การซื้อขายแอปพลิเคชัน (app) ปลอมบน Google Play และ App Store ที่ออกแบบมาเพื่อหลอกผู้ใช้งาน

พบ ‘โทรจัน’ ขโมยข้อมูลไบโอเมตริก เพื่อเข้าถึงบัญชีธนาคารเหยื่อ (จบ)

Loading

จากสัปดาห์ที่แล้วที่ผมได้อธิบายถึงหลักการสำหรับการโจมตีทางไซเบอร์และเทคนิคการทำงานของแก๊ง “GoldFactory” กันในรูปแบบต่างๆ ในวันนี้เราจะมาเจาะลึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยกันนะครับ

เหยื่อปฏิเสธจ่ายเงินค่าไถ่ ‘แรนซัมแวร์’

Loading

  แม้ว่าในปัจจุบันจะมีเหตุการณ์การโจมดีด้วย “แรนซัมแวร์” อยู่อย่างต่อเนื่องแต่อัตราการจ่ายเงินค่าได้กลับไม่ได้เพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย   จากรายงานของ Coveware บริษัทรับเจรจาเรื่อง แรนซัมแวร์ (Ransomware) พบว่า จำนวนเหยื่อแรนซัมแวร์ที่จ่ายค่าไถ่ลดลงสู่ระดับต่ำสุดเป็นประวัติการณ์ที่ 29% ในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2023   แนวโน้มนี้ได้ปรากฏชัดเจนอย่างมากในช่วงกลางปี 2021 เมื่ออัตราการจ่ายเงินลดลงเหลือ 46% หลังจากก่อนหน้านี้อยู่ที่ 85% ในปี 2019 สำหรับสาเหตุของการลดลงอย่างต่อเนื่องนี้มีหลายแง่มุม   ส่วนหนึ่งเพราะมีการเตรียมพร้อมที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นขององค์กรต่างๆ บวกกับการไม่ไว้วางใจต่ออาชญากรไซเบอร์ที่สัญญาว่าจะไม่เผยแพร่ข้อมูลที่ถูกขโมย รวมไปถึงความกดดันทางกฎหมายในบางภูมิภาคที่ระบุว่า การจ่ายเงินค่าไถ่เป็นสิ่งผิดกฎหมายเลยทำให้ไม่เพียงแต่จำนวนเหยื่อที่จ่ายค่าไถ่แรนซัมแวร์ลดลงแต่ยังรวมถึงจำนวนเงินค่าไถ่ด้วย   การจ่ายค่าไถ่ในโตรมาสที่ 4 ปี 2023 มีมูลค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 568,705 ดอลลาร์ ลดลง 33% จากไตรมาสก่อน ขณะที่การจ่ายค่าไถ่เฉลี่ยอยู่ที่ 200,000 ดอลลาร์   หากพิจารณาเฉพาะองค์กรที่ตกเป็นเหยื่อจะเห็นว่า มีจำนวนลดลงในไตรมาสที่ 4 ปี 2023 เช่นกัน ซึ่งสวนทางกับไตรมาส 2 ปี 2565…

สหรัฐฯ ประกาศค่าหัว หัวหน้ากลุ่มแฮ็กเกอร์ไวรัสเรียกค่าไถ่ Hive เกือบ 40 ล้าน

Loading

สหรัฐฯ เปิดศึก จ่ายค่าให้ใครก็ตามที่ส่งเบาะแสหัวหน้ากลุ่มทำ ไวรัสเรียกค่าไถ่ (ransomware) ชื่อ Hive เกือบ 40 ล้านบาท หลังกลุ่มนี้โจมตีในกว่า 80 ประเทศ เคราะห์ดีได้ FBI ช่วยป้องกันการถูกไถเงินไปได้กว่า 4.8 พันล้าน

ระวัง!! ภัยร้ายไซเบอร์ ป่วนหนักยิ่งกว่าเดิม

Loading

  “แคสเปอร์สกี้” เตือนภัย อันตรายทางไซเบอร์จะยิ่งรุนแรงเพิ่มขึ้นในปี 2024 โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากฟิชชิ่ง กลโกง การละเมิดข้อมูล การโจมตี APT แรนซัมแวร์ รวมถึงการโจมตีทางไซเบอร์ที่มีแรงจูงใจจากความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์การเมือง   Keypoints : •  ขับเคลื่อนด้วย “ความก้าวหน้าด้านดิจิทัล” และ “ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์” •  ผู้คนหลายแสนคนจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้รับคัดเลือกให้เข้าร่วมปฏิบัติการหลอกลวงออนไลน์ •  ผู้ก่อภัยคุกคามมักใช้เทคนิควิศวกรรมสังคมที่ซับซ้อนเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย •  บริษัทรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ระดับโลก “แคสเปอร์สกี้ (Kaspersky)” เปิดคาดการณ์ภาพรวมภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่จะเกิดขึ้นในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก (APAC) ปีนี้ โดยระบุว่าเหตุการณ์ต่าง ๆ จะขับเคลื่อนด้วย “ความก้าวหน้าด้านดิจิทัล” อย่างรวดเร็วและ “ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์”   วิทาลี คัมลัก หัวหน้าศูนย์วิจัยของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ทีมวิจัยและวิเคราะห์ระดับโลก (GReAT) แคสเปอร์สกี้ กล่าวว่า เศรษฐกิจดิจิทัลของเอเชียแปซิฟิกยังคงเติบโตอย่างทวีคูณ และคาดว่าจะรักษาโมเมนตัมเอาไว้ได้ในอีกห้าปีข้างหน้า   ด้วยความพยายามในการเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัล รวมถึงการนำเทคโนโลยีต่าง ๆ มาใช้ เช่น การชำระเงินดิจิทัล, Super…

‘โจรไซเบอร์’ ป่วนหนักองค์กรไทย ล็อกเป้า ‘ภาครัฐ – ทหาร – การผลิต – การเงิน’

Loading

  รายงานล่าสุดโดย “เช็ค พอยท์ ซอฟต์แวร์” พบว่า ช่วง 6 เดือนที่ผ่านมาระหว่างเดือน ก.ค. – ธ.ค. 2566 หน่วยงานต่าง ๆ ในประเทศไทยถูกโจรไซเบอร์โจมตีมากถึง 1,892 ครั้งต่อสัปดาห์ สูงกว่าค่าเฉลี่ยทั่วโลกกว่าที่ถูกโจมตีประมาณ 1,040 ครั้ง กว่า 800 ครั้ง   Keypoints : •  เป้าหมายหลักคือ หน่วยงานภาครัฐ การทหาร อุตสาหกรรมการผลิต และการเงินการธนาคาร •  ท็อป 3 ภัยคุกคามคือ บอทเน็ต (Botnet), คริปโทไมเนอร์ (Cryptominer), และแรนซัมแวร์ •  ประเทศไทยมีความเสี่ยงต่อการโจมตีทั้งแบบฟิชชิ่ง การหลอกลวงรูปแบบต่าง ๆ และการปล้นทรัพยากร (Resource Hijacking)   ชาญวิทย์ อิทธิวัฒนะ ผู้จัดการสาขาประจำประเทศไทย บริษัท เช็ค…