Smart City เหนือกว่า High Tech คือ High Touch

Loading

“สมาร์ทซิตี้” หรือ “เมืองอัจฉริยะ” หมายถึง เมืองที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัยและชาญฉลาด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหารและจัดการเมือง

รู้เรื่องเมืองอัจฉริยะ บทเรียนจากสิงคโปร์

Loading

    ประเทศสิงคโปร์ไม่ใช่ประเทศเอกราชที่เกิดขึ้นด้วยความต้องการของคนในชาติ แต่ถูกขับออกจากประเทศมาเลเซียในปี 2508 เกาะเล็ก ๆ แห่งนี้ขาดแคลนทรัพยากรแม้กระทั่งน้ำสำหรับใช้อุปโภคบริโภคก็ไม่เพียงพอ   แต่การขาดแคลนดังกล่าวกลับทำให้คนสิงคโปร์ตระหนักว่าทรัพยากรสำคัญที่จะช่วยให้อยู่รอดก็คือ คนที่มีคุณภาพนั่นเอง ความเป็นเมืองอัจฉริยะมาจากคุณภาพของคนเป็นเบื้องต้น   รัฐบาลสิงคโปร์ได้ตอกย้ำหลักพื้นฐานของความเป็นเมืองหรือประเทศอัจฉริยะว่าประกอบด้วย 3 เรื่องคือ   1.สังคมดิจิทัล (Digital society) หมายถึงสังคมที่ทุกคนซึ่งมีความแตกต่างได้เชื่อมโยงกันและรับโอกาสที่ดีขึ้นด้วยการสนับสนุนจากเทคโนโลยี โดยจะเกิดขึ้นได้เมื่อคนสิงคโปร์สามารถเข้าถึง มีความรู้ ยอมรับและมีส่วนร่วมในเรื่องเทคโนโลยีดิจิทัล โดยประชาชนได้รับการสนับสนุนทางการเงินจากภาครัฐในการเข้าอบรมพัฒนาตนเอง   2.เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital economy) เป็นการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในกิจกรรมทางเศรษฐกิจและจัดสรรทรัพยากรให้เหมาะสม เช่น การรวบรวมข้อมูลขนาดใหญ่ที่เรียกว่าบิ๊กดาต้าและวิเคราะห์หาพฤติกรรมลูกค้า สร้างนวัตกรรมตอบสนองความต้องการให้ตรงจุดมากขึ้น ตลอดจนปรับเปลี่ยนการจัดสรรทรัพยากรของภาคธุรกิจอย่างรวดเร็ว และทำให้เศรษฐกิจเติบโตมากขึ้น เช่น การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลแสดงความต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าทั่วไปเทศ เพื่อให้ธุรกิจที่ทำการผลิตไฟฟ้าสามารถจัดการการผลิตในปริมาณที่เหมาะสมและวางแผนขายไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ   3.รัฐบาลดิจิทัล เป็นการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาสร้างความสามารถของภาครัฐในการให้บริการประชาชน ผ่านการกำหนดนโยบายและออกแบบการให้บริการที่ประชาชนมีส่วนร่วม เพื่อตอบสนองความต้องการอย่างแท้จริง   มีการใช้แอปพลิเคชันในการให้บริการประชาชน เช่น การแจ้งเบาะแสการหลอกลวงทางโทรศัพท์มือถือ การเก็บข้อมูลเพื่อนำไปคำนวณภาษี ฯลฯ     ทั้งนี้ การสร้างเมืองอัจฉริยะจะประสบความสำเร็จได้ก็ต่อเมื่อประชาชนมีส่วนร่วม โดยเป้าหมายท้ายสุดคือสร้างความสุขให้แก่ประชาชนในประเทศ  …

จาก ‘เมืองอัจฉริยะ’ สู่ ‘เมืองที่ปรับตัวได้’

Loading

แนวคิดใหม่ที่กำลังเกิดขึ้นคือการพัฒนาไปสู่ “เมืองที่ปรับตัวได้” (Adaptive City) ซึ่งเป็นเมืองที่มีความสามารถในการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงหรือการหยุดชะงักจากปัจจัยต่างๆ ได้อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โรคระบาด ภัยพิบัติธรรมชาติ ไปจนถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ

“สามพราน” พัฒนาสู่ “สมาร์ทซิตี้” เมืองอัจฉริยะด้านความปลอดภัย

Loading

จังหวัดนครปฐม เมืองปริมณฑลกรุงเทพฯ เมืองนี้มีความน่าสนใจมากกว่าเป็นเมืองกิน เที่ยว ช้อป เมืองประวัติศาสตร์ และการศึกษา เพราะปัจจุบันได้กำหนดแผนการพัฒนาเมืองภายใต้ยุทธศาสตร์จังหวัดให้เป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City) เน้นด้านการขนส่ง

หัวเว่ย โชว์นวัตกรรมเมืองอัจฉริยะ หนุนยกระดับประเทศไทยสู่อีกขั้นของสมาร์ทซิตี้

Loading

หัวเว่ยประกาศความพร้อมสนับสนุนประเทศไทยในการก้าวสู่เมืองอัจฉริยะอย่างเต็มรูปแบบ ยกทัพนวัตกรรม-เทคโนโลยีล้ำยุค พร้อมผนึกกำลังสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (ดีป้า) ดีป้าเปิดงานสัมมนาพิเศษฟอรัมพิเศษเร่งการเปลี่ยนแปลงเมืองอย่างเป็นรูปธรรม ภายในงาน “ไทยแลนด์ สมาร์ทซิตี้ ฟอรัม 2023 (Thailand Smart City 2023)”

‘ดีป้า’เข็น 5 มาตรฐาน ‘สมาร์ทซิตี้’ ชูหัวใจสำคัญด้วยบริการบัญชีดิจิทัล

Loading

หากพูดถึงโครงสร้างเศรษฐกิจในปัจจุบันรูปแบบพิรามิด ประกอบด้วยฐานล่างสุดเกษตรกร 8-12 ล้านคนสัดส่วนจีดีพีน้อยมาก ถ้าไม่ทำให้มีรายได้เพิ่มขึ้นเพิ่มจีดีพียาก ส่วนตรงกลางหรือผู้ประกอบการ SME จำนวน 3 ล้านรายหรืออาจถึง 5-6 ล้านราย ยังสามารถทำจีดีพีได้นิดเดียว 35-40% ส่วนบนสุดของพิรามิดคือยักษ์ใหญ่มีสัดส่วนจีดีพีถึง 50% คำถามของความเป็น “เมืองอัจฉริยะ” หรือ สมาร์ทซิตี้