เพจ Facebook สนทช. โดนแฮ็กเกอร์เข้ายึดแปะลิงก์อันตราย
เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคมที่ผ่านมา ผู้ใช้ Facebook พบว่าเพจทางการของสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สนทช.) เริ่มโพสต์เนื้อหาที่ผิดไปจากที่เคยทำปกติ มีการแนบลิงก์ประหลาดที่ไปยังเว็บไซต์อื่น ๆ
เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคมที่ผ่านมา ผู้ใช้ Facebook พบว่าเพจทางการของสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สนทช.) เริ่มโพสต์เนื้อหาที่ผิดไปจากที่เคยทำปกติ มีการแนบลิงก์ประหลาดที่ไปยังเว็บไซต์อื่น ๆ
ข้อความหยาบคาย และเฟกนิวส์ ถูกโพสต์จากแอคเคานต์ส่วนตัวของ ทรัมป์ จูเนียร์ ลูกชายคนโตของอดีตประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ ซึ่งมีผู้ติดตามมากกว่า 10 ล้านคน อาทิ “ผมเสียใจที่ต้องประกาศว่า พ่อของผม โดนัลด์ ทรัมป์ เสียชีวิตแล้ว และผมจะลงสมัครรับเลือกตั้งประธานาธิบดีปีหน้า”
PayPal อีกหนึ่งแพลตฟอร์มที่พ่อค้าแม่ค้าออนไลน์และนักธุรกิจใช้แลกเปลี่ยนเงินต่างประเทศกันเป็นจำนวนมาก ได้ออกเตือนว่ามีข้อมูลส่วนตัวรั่วไหลไปกว่า 35,000 ราย พร้อมแนะวิธีป้องกันเบื้องต้น PayPal (เพย์พาล) มีผู้ใช้ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยก็มีผู้ใช้เป็นจำนวนมาก เพราะทำได้ทั้งโอนเงินต่างประเทศ รับเงินได้จากทั่วโลก และข้อมูลส่วนตัวต่าง ๆ นั้นก็จะอยู่ในแพลตฟอร์มนี้ ไม่ว่าจะเป็น ชื่อ นามสกุล บัตรเครดิต บัญชีธนาคาร ที่อยู่ต่าง ๆ ขณะนี้ PayPal ได้ออกเตือนผู้ใช้ทั่วโลกว่ามีการแฮกบัญชีเกิดขึ้นในช่วงเดือนธันวาคม โดยแฮกเกอร์สามารถเข้าถึงบัญชี ข้อมูลส่วนตัว เช่น วันเกิด,ที่อยู่ หมายเลขบัตรประชาชน และประวัติการทำธุรกรรมต่างๆ ซึ่งเป็นเรื่องน่ากังวลมากหากข้อมูลเหล่านี้รั่วไหลออกไป ทางบริษัทเมื่อพบการแฮกเกิดขึ้นก็ได้ทำการรีเซ็ตรหัสผ่านผู้ใช้ทั้งหมดที่ถูกแฮก และยังไม่เกิดการทำธุรกรรมใด ๆ แต่เหตุการณ์ครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าความปลอดภัยของบัญชีเพย์พาลอาจไม่มากพอ และควรจะต้องปรับปรุงอย่างเร่งด่วน เพราะข้อมูลเหล่านั้นถ้าหากแฮกเกอร์ได้เก็บข้อมูลไปแล้ว ก็อาจนำไปใช้ได้ต่อในอนาคต เพราะข้อมูลส่วนตัวไม่สามารถเปลี่ยนได้ บริษัทแนะนำอย่างยิ่งให้ผู้ใช้ PayPal เปลี่ยนรหัสผ่านสำหรับบัญชีออนไลน์อื่น ๆ โดยใช้รหัสผ่านจะมีความยาวอย่างน้อย 12 อักขระและประกอบด้วยอักขระและตัวเลขและตัวอักษรและสัญลักษณ์ ยิ่งไปกว่านั้น PayPal…
คุกกี้ ของหวานของเหล่าแฮกเกอร์ ที่ทำให้บัญชีของคุณถูกแฮกได้ภายในไม่กี่วินาที การยืนยันตัวตนขั้นที่สอง หรือ Two–Factor Authentication (2FA) คือ หนึ่งในวิธีการที่ช่วยเพิ่มความปลอดภัยแก่บัญชีออนไลน์ต่าง ๆ โดยเฉพาะอีเมลและบัญชีโซเชียลมีเดีย อย่างไรก็ตาม แม้นี่จะเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพ แต่ไม่มีวิธีใดที่ป้องกันได้ 100% และคุณยังสามารถถูกแฮกบัญชีได้แม้จะเปิดใช้งาน 2FA แล้ว แต่แฮกเกอร์เจาะเข้าระบบที่มี 2FA ได้อย่างไร? ในบทความนี้จะขอเตือนภัยผู้อ่านทุกท่าน ถึงวิธีการที่แฮกเกอร์เข้าถึงข้อมูลบนโลกออนไลน์ของคุณได้โดยไม่ผ่าน 2FA พร้อมวิธีป้องกันเบื้องต้นที่สามารถทำได้ ที่มาของภาพ Unsplash รู้จัก Two–Factor Authentication (2FA) การยืนยันตัวตนขั้นที่สอง หรือ 2FA ทำหน้าที่เป็นเกราะป้องกันชั้นที่สองให้แก่บัญชีผู้ใช้ของคุณ ซึ่งมักอยู่จะในรูปรหัสผ่านตัวเลขแบบสุ่ม โดยทางแพลตฟอร์มจะส่งรหัสผ่านเหล่านี้มาให้คุณผ่านทางข้อความ SMS, อีเมล หรือใช้รหัสผ่านจากแอปพลิเคชันสร้าง 2FA ที่แพลตฟอร์มรองรับ ที่มาของภาพ Wiki Commons ซึ่งรหัสผ่านของ…
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว