NIST เตือนภัยวิธีการแฮ็ก AI ที่อาจมาล้วงข้อมูลผู้ใช้ได้

Loading

  สถาบันมาตรฐานและเทคโนโลยีแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (NIST) พบว่าวิธีการโจมตีที่เรียกว่า Prompt Injection สามารถนำไปแฮ็ก AI เชิงสังเคราะห์ (GenAI) อย่าง ChatGPT ได้   NIST แบ่ง Prompt Injection เป็น 2 แบบ แบบแรกคือทางตรง (Direct Prompt Injection) เป็นการที่ผู้ใช้งานป้อนพรอมต์ (prompt) หรือคำสั่งไปยังตัว AI ด้วยข้อความที่ทำให้ AI ทำงานในแบบที่มันไม่ควรจะทำหรือไม่ได้รับอนุญาต   แบบที่ 2 คือแบบทางอ้อม (Indirect Prompt Injection) ซึ่งเน้นพุ่งเป้าทำลายหรือสร้างความเสียหายต่อข้อมูลที่ตัว AI ดึงมาใช้ในสร้างข้อมูลใหม่   Direct Prompt Injection หนึ่งในวิธีทางตรงที่ NIST บอกว่าเป็นที่รู้จักมากที่สุดคือ DAN หรือ Do Anything Now คือการที่ผู้ใช้สวมบทให้กับตัว…

ทำไมระบบ ‘ยืนยันตัวตน’ จึงกลายเป็นม้าโทรจันได้

Loading

แฮ็กเกอร์ใช้กลยุทธ์หลอกลวงผู้ใช้ให้มอบสิทธิอนุญาตการเข้าถึงระบบ ผู้บริหารองค์กรไม่ควรละเลยหรือมองข้าม แม้มีมาตรการรักษาความปลอดภัยแบบเดิมอยู่แล้ว แต่ในบางกรณีก็ไม่สามารถป้องกันภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่มีการพัฒนาอยู่อย่างไม่หยุดยั้งได้

Boeing ออกมายอมรับว่าโดนแฮ็กด้วยมัลแวร์เรียกค่าไถ่เมื่อปี 2023 จริง

Loading

Boeing ยักษ์ใหญ่วงการอากาศยานยืนยันว่ามีแฮกเกอร์ที่พยายามโจมตีโดยใช้มัลแวร์เรียกค่าไถ่ LockBit หวังเรียกเงินค่าไถ่มูลค่า 200 ล้านเหรียญ (ราว 7,358 ล้านบาท) เมื่อเดือนตุลาคม ปี 2023 รายงานระบุว่า ในครั้งนั้น Boeing ไม่ได้จ่ายเงินค่าไถ่ให้แก่แฮ็กเกอร์ ทำให้ข้อมูลบริษัทขนาด 43 จิกะไบต์ ถูกปล่อยว่อนเน็ต

Dell ออกมาเตือนว่าแฮ็กเกอร์ได้ข้อมูลลูกค้า 49 ล้านรายการไปขาย

Loading

Dell ออกมาเตือนลูกค้าเกี่ยวกับเหตุข้อมูลรั่ว หลังจากแฮ็กเกอร์รายหนึ่งประกาศขายข้อมูลลูกค้า Dell มากกว่า 49 ล้านรายการ บน Breach Forums

เปลี่ยนด่วน! เราเตอร์ D-Link รุ่นเก่ามีช่องโหว่ที่จะถูกนำไปใช้เป็นเครื่องมือโจมตีคนอื่น

Loading

Fortinet เผยว่า เราเตอร์ของแบรนด์ D-Link รุ่น DIR-645 มีช่องโหว่ที่จะถูกนำไปใช้เป็นบอตเน็ตเพื่อโจมตีอุปกรณ์หรือโครงข่ายอื่น ๆ ได้ง่าย

ช่องโหว่ ‘VPN Software’ เพียงเล็กน้อยก็โดนแฮ็กได้

Loading

  แฮ็กเกอร์พยายามหาช่องโหว่เพื่อเจาะระบบและโจมตี เวลานี้ประเทศไทยตกเป็นเป้าหมายในการโจมตีของแรนซัมแวร์อย่างหนักในช่วงเวลานี้   ความเจริญก้าวหน้าทางดิจิทัลที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง ทำให้ VPN หรือ Virtual Private Network เป็นอีกหนึ่งทางเลือกสำหรับหลายคนและหลายองค์กรที่ใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการทำงานในปัจจุบัน   แต่แน่นอนว่าจะมีสิ่งที่ตามมาด้วยนั่นคือ ภัยคุกคามที่เหล่าบรรดาแฮ็กเกอร์พยายามหาช่องโหว่ไม่ว่าจะเป็นข้อบกพร่องต่างๆ เพียงเล็กน้อยเพื่อเจาะระบบและโจมตีด้วยวิธีการต่างๆ ซึ่งความเสียหายขึ้นอยู่กับแต่ละองค์กรว่าโดนโจมตีมากน้อยเพียงใด   สำหรับวันนี้ผมจะขอพูดถึงกรณีที่กำลังตกเป็นประเด็นอย่าง Libreswan VPN ที่มีการใช้งานกันอยู่อย่างแพร่หลาย เนื่องจากมีการตรวจพบช่องโหว่ที่สำคัญในซอฟต์แวร์เครือข่ายทำให้ผู้ใช้หลายล้านคนตกอยู่ในความเสี่ยงอย่างไม่รู้ตัว   โดยช่องโหว่ที่ว่าคือ CVE-2024-3652 ใน Libreswan เวอร์ชัน 3.22 – 4.14 ที่เกี่ยวข้องกับการรับส่งข้อมูลเครือข่ายและการตรวจสอบ incoming packet ที่ไม่เหมาะสมซึ่งอาจนำไปสู่การโจมตีแบบ Denial-of-Service (DoS)   กล่าวคือ การโจมตีที่มีแหล่งที่มาเพียงแหล่งเดียวแต่มีคำขอส่งข้อมูลมุ่งไปยังเครื่องเซิร์ฟเวอร์ในปริมาณที่มากเกินไปเพื่อทำให้ระบบไม่สามารถให้บริการได้   สำหรับเคสนี้แฮ็กเกอร์ใช้ประโยชน์จากช่องโหว่นี้และส่ง packet ที่ทำขึ้นเป็นพิเศษส่งไปยังเซิร์ฟเวอร์ VPN เพื่อทำให้ระบบทั้งหมดล่ม กระทบต่อบริการที่สำคัญและเปิดเผยข้อมูลที่ละเอียดอ่อนซึ่งอาจส่งผลร้ายแรง   โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์กรที่ใช้ VPN สำหรับการเข้าถึงระยะไกลและการส่งข้อมูลอย่างปลอดภัยเป็นประจำ แต่โชคดีที่ปัญหานี้ได้รับการแก้ไขแล้วในซอฟต์แวร์เวอร์ชัน 3.0 –…