สรุปผลดำเนินงาน รักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ปี 66 คาดปีนี้ Hacked Website ภัยคุกคามที่พบมาก

Loading

สรุปผลดำเนินงาน รักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ 1 ต.ค.65-30 ก.ย.66 แนวโน้มนปี 2567 Hacked Website ยังเป็นภัยคุกคามที่มีโอกาสพบเป็นจำนวนมาก

แนะนำ 6 วิธีรับมือ เมื่อรู้ตัวว่ามือถือโดนแฮ็ก!

Loading

เปิด 6 แนวทางรับมือ เมื่อรู้ตัวว่ามือถือของเราโดนแฮ็ก ปกป้องความเป็นส่วนตัวของข้อมูล ป้องกันผู้อื่นติดกับดักจากมือถือเรา!

ผวา! ลูกค้า Ticketmaster โดนแฮ็กข้อมูล 560 ล้านรายทั่วโลก

Loading

“ชายนี่ฮันเตอร์“ อ้างแฮ็กข้อมูลส่วนตัว ที่อยู่ อีเมล เบอร์โทรศัพท์และข้อมูลบัตรเครดิตลูกค้า “ทิกเก็ตมาสเตอร์“ กว่า 560 ล้านรายทั่วโลก

กลุ่มแฮ็กเกอร์อ้างล้วงข้อมูลลูกค้าของบริษัทประมูล “คริสตีส์”

Loading

กลุ่มแฮ็กเกอร์ที่มีชื่อว่าแรนซัมฮับ (RansomHub) ออกมาอ้างว่าเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการโจมตีทางไซเบอร์บริษัทจัดประมูลคริสตีส์ (Christie’s) เมื่อต้นเดือนนี้

พบ แฮ็กเกอร์จากเวียดนามเป็นต้นเหตุของการขโมยข้อมูลทางการเงินทั่วเอเชีย

Loading

ในช่วงที่ผ่านมา หลายคนอาจจะได้เห็นข่าวเรื่องการขโมยเงินผ่านทางการใช้มัลแวร์จากแฮ็กเกอร์มากมาย ไม่ว่าจะเป็นการดูดเงินผ่านทางบัญชีธนาคาร การขโมยเลขบัตรเครดิตไปใช้งาน ไปจนถึงการขโมยกระเป๋าเก็บเงินคริปโต

NIST เตือนภัยวิธีการแฮ็ก AI ที่อาจมาล้วงข้อมูลผู้ใช้ได้

Loading

  สถาบันมาตรฐานและเทคโนโลยีแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (NIST) พบว่าวิธีการโจมตีที่เรียกว่า Prompt Injection สามารถนำไปแฮ็ก AI เชิงสังเคราะห์ (GenAI) อย่าง ChatGPT ได้   NIST แบ่ง Prompt Injection เป็น 2 แบบ แบบแรกคือทางตรง (Direct Prompt Injection) เป็นการที่ผู้ใช้งานป้อนพรอมต์ (prompt) หรือคำสั่งไปยังตัว AI ด้วยข้อความที่ทำให้ AI ทำงานในแบบที่มันไม่ควรจะทำหรือไม่ได้รับอนุญาต   แบบที่ 2 คือแบบทางอ้อม (Indirect Prompt Injection) ซึ่งเน้นพุ่งเป้าทำลายหรือสร้างความเสียหายต่อข้อมูลที่ตัว AI ดึงมาใช้ในสร้างข้อมูลใหม่   Direct Prompt Injection หนึ่งในวิธีทางตรงที่ NIST บอกว่าเป็นที่รู้จักมากที่สุดคือ DAN หรือ Do Anything Now คือการที่ผู้ใช้สวมบทให้กับตัว…