ไต้หวัน ขยายผลสอบเข้มข้น พนักงานบริษัทเทคโนโลยี เพจเจอร์ระเบิดในเลบานอน

Loading

ไต้หวัน สอบสวนเพิ่มเติมเหตุเพจเจอร์ระเบิดในเลบานอน เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 39 ราย บาดเจ็บเกือบ 3,000 คน และยืนยันว่า เพจเจอร์ที่ระเบิดในเลบานอนไม่ได้ผลิตในไต้หวัน

ไต้หวันสั่งฟ้องผู้ต้องสงสัย 23 คน ข้อหาเป็นสายลับให้กับจีน

Loading

เว็บไซต์ Taipei Times รายงานเมื่อ 21 ก.ย.67 ว่า สำนักงานอัยการนครไถหนานของไต้หวัน สั่งฟ้องผู้ต้องสงสัย 23 ราย หนึ่งจำนวนนี้เป็นทหารที่ประจำการในกองทัพ 8 นาย ในข้อหาเป็นสายลับให้จีน โดยได้เริ่มสอบสวนเมื่อ เม.ย.67 หลังจากที่กองบัญชาการสงครามการเมืองของไต้หวันได้รับเบาะแสจากทหารเมื่อปี 2565 และได้ออกหมายเรียกผู้ต้องสงสัยมาสอบปากคำแล้วจำนวน 49 ราย รวมถึงได้ดำเนินการค้นหา 4 รอบในพื้นที่ 29 แห่ง ซึ่ง จนท.ได้ยึดโทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ ข้อมูลลับทางทหาร 9 ชิ้น และเอกสารลับ 1 ฉบับ

ไต้หวันจำคุกอดีตนาวาเอกจีน ฐานเดินทางเข้าเกาะอย่างผิดกฎหมาย

Loading

ศาลไต้หวันตัดสินจำคุกอดีตนาวาเอกชาวจีนคนหนึ่ง เป็นเวลา 8 เดือน ในข้อหาเดินทางเข้าเกาะอย่างผิดกฎหมายด้วยเรือ

อดีตผู้ช่วยผู้ว่าการรัฐนิวยอร์กและสามีถูกจับกุมข้อหาเป็นสายลับให้จีน

Loading

เว็บไซต์ Daily Mail รายงานเมื่อ 5 4 ก.ย.67 ว่า นาง Linda Sun อดีตผู้ช่วยผู้ว่าการรัฐนิวยอร์กและนาย Christopher Hu สามี ถูกกล่าวหาว่าเป็นสายลับให้จีนและถูกตั้งข้อหาจารกรรมและฟอกเงิน หลังจากที่ จนท.บุกเข้าตรวจค้นคฤหาสน์หรูมูลค่า 4 ล้านเหรียญสหรัฐของเธอที่ Long Island รัฐนิวยอร์ก สหรัฐฯ นาง Sun และสามี ถูกกล่าวหาว่ารับสินบนจากพรรคคอมมิวนิสต์จีนเป็นจำนวนหลายล้านเหรียญสหรัฐ ทำให้ใช้ชีวิตอย่างหรูหรา โดยซื้อคอนโดมีเนียมที่ฮาวายมูลค่า 2 ล้านเหรียญสหรัฐและถยนต์ Ferrari รุ่นปี 2024 นาง Sun ใช้อิทธิพลของเธอเอื้อประโยชน์ต่อจีนในประเด็นทางภูมิรัฐศาสตร์ ด้วยการยกเลิกการประชุมกับ จนท.ไต้หวัน และเปลี่ยนทิศทางการวิพากษ์วิจารณ์ไปในเชิงลบต่อชาวมุสลิมอุยกูร์ในจีน

ศาลจีนสั่งจำคุกนักเคลื่อนไหวไต้หวัน 9 ปี ฐานพยายามแบ่งแยกดินแดน

Loading

ชายชาวไต้หวันคนหนึ่ง ต้องรับโทษจำคุกในจีนเป็นเวลานาน 9 ปี จากความผิดที่เกี่ยวข้องกับ “การแบ่งแยกดินแดน”

กางแผนที่ทะเลจีนใต้ ส่องปมพิพาทจีน-ฟิลิปปินส์ ใครอ้างกรรมสิทธิ์ตรงไหนบ้าง

Loading

จีน ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย บรูไน มาเลเซีย เวียดนาม และไต้หวัน ต่างอ้างกรรมสิทธิ์เหนือพื้นที่พิพาทในทะเลจีนใต้มายาวนานหลายทศวรรษ เนื่องจากพื้นที่บริเวณดังกล่าวเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญในการเดินเรือ อีกทั้งยังเป็นแหล่งประมงและมีทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลที่อุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ โดยหน่วยงานของสหประชาชาติเคยประเมินว่า ในปี 2016 การค้าโลกมากกว่า 21% เดินทางผ่านเส้นทางนี้