“โรคทางจิตเวช” กับ “โรควิตกกังวล” แตกต่างกันอย่างไร

Loading

    หลายคนอาจสงสัยระหว่างคำว่า “โรคทางจิตเวช” กับ กับ “โรควิตกกังวล” เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร เป็นสิ่งเดียวกันหรือไม่ ในทางการแพทย์ ให้คำนิยามของทั้งสองคำนี้อย่างไร มาหาคำตอบกัน    โรคทางจิตเวช คือ อะไร “โรคทางจิตเวช” เป็นกลุ่มของโรคที่ส่งผลต่อความคิด อารมณ์ พฤติกรรม และการรับรู้ของบุคคล อาจมีอาการรุนแรงจนส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวัน เช่น การทำงาน หรือการเข้าสังคม   ตัวอย่างโรคในกลุ่มจิตเวช โรคจิตเภท (Schi zophrenia) – ผู้ป่วยมีอาการหลงผิดหรือหวาดระแวง หูแว่ว ประสาทหลอน หากเป็นแล้วไม่รักษาตั้งแต่ต้น หรือปล่อยทิ้งไว้นาน จะทำให้การรักษามีความยุ่งยาก และผลการรักษาไม่ดีนัก โรคอารมณ์สองขั้ว (Bipolar Disorder) – จะมีอารมณ์ขึ้นลงรุนแรงเป็นช่วงๆ อารมณ์แปรปรวนรุนแรง มีช่วงซึมเศร้าและช่วงอารมณ์ดีผิดปกติ – ช่วงเวลาที่เป็น Manic Episode (ภาวะอารมณ์ดีผิดปกติ) ผู้ป่วยจะรื่นเริงสนุกสนานผิดปกติ มีพลังในการทำกิจกรรมต่างๆ ไม่มีเหน็ดเหนื่อย มีความมั่นใจมาก ขาดความยับยั้งชั่งใจ หากถูกห้ามหรือขัดขวางในสิ่งที่ต้องการจะหงุดหงิด ในรายที่มีความรุนแรงจะพบมีอาการหลงผิดคิดว่ามีพลังวิเศษ – ช่วงเวลาที่เป็น Depressive Episode (ภาวะซึมเศร้า) ผู้ป่วยจะมีอาการเบื่อหน่าย ซึมเศร้า…

“กต.” ยืนยันแรงงานไทยในอิสราเอลตาย 12 คน – เร่งอพยพกลับ

Loading

วันนี้ (9 ต.ค.2566) เมื่อเวลา 11.00 น.นางกาญจนา ภัทรโชค อธิบดีกรมสารสนเทศ กระทรวงการต่างประเทศ กล่าวว่า สถานทูตฯ ได้รับแจ้งจากแรงงานไทย และนายจ้างว่า ชาวไทยได้รับบาดเจ็บ 8 คน เข้าดูแลรักษาในโรงพยาบาลแล้ว ถูกจับเป็นตัวประกัน 11 คน และมีคนไทยเสียชีวิต 12 คน