โศกนาฎกรรมซ้ำซ้อน ที่ชายแดนเมียนมา

Loading

แต่รายงานของสำนักข่าวเอพี เมื่อ 10 มีนาคมที่ผ่านมา ระบุว่า คนที่หลุดรอดออกมาได้จากปฏิบัติการครั้งนั้น กำลังเผชิญหน้าอยู่กับโศกนาฏกรรมซ้ำอีกครั้งคราวนี้ไม่เพียงหนักหนาสาหัสเท่านั้น แต่ยังมืดมนไร้อนาคตด้วยอีกต่างหากรายงานระบุว่า คนทั้งหญิงและชายหลายพันคนเหล่านั้น ถูกกักขังอยู่ในสถานที่แออัด ทุกคนเจ็บป่วยไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ล้วนแล้วแต่อ่อนล้าไร้เรี่ยวแรง

ด่วน! เมียนมา สั่งอพยพคนใน 15 หมู่บ้าน รอบเมืองเอกรัฐยะไข่

Loading

สำนักข่าวต่างประเทศรายงานจากเมืองย่างกุ้ง ประเทศเมียนมา เมื่อวันที่ 15 มิ.ย. ว่า สื่อท้องถิ่นหลายแห่งของเมียนมารายงานว่า รัฐบาลทหารเมียนมามีคำสั่งให้ประชาชนในหมู่บ้าน 15 แห่ง รวมราว 3,500 คน ที่ตั้งอยู่รอบเมืองซิตตเว ซึ่งเป็นเมืองเอกของรัฐยะไข่ อพยพออกจากพื้นที่ภายใน 5 วัน ซึ่งครบกำหนดแล้ว เมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา โดยให้ย้ายไปพักพิงชั่วคราว ที่ศูนย์ในเมืองซิตตเว

ปิดด่านชายแดนไทย-เมียนมาจุดที่สอง อ.แม่สอด เหตุฐานที่มั่นของเมียนมาถูกตีแตก ทหารกว่า 200 นายหลบซ่อนตัวใต้สะพาน

Loading

สถานการณ์การสู้รบระหว่างทหารเมียนมา กับกองกำลังสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง (เคเอ็นยู) และเคเอ็นยู.พีซี. กลุ่มกะเหรี่ยงสันติภาพ และกองกำลังปกป้องประชาชน (พีดีเอฟ) หลังจากที่ฝ่ายต่อต้านยึดค่ายผาซอง

ท่าสองยาง “นายอำเภอตั้ม” สั่งการให้ ปลัด-อส.รักษาความปลอดภัย(รปภ.)ในพื้นที่

Loading

ภายใต้การอำนวยการของนายอัครพันธุ์ พูลศิริ “นายอำเภอตั้ม” นายอำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก มอบหมายให้นายกันต์พงษ์ พิพัฒมนตรีกุล ปลัดอำเภอ หัวหน้ากลุ่มงานบริหารงานปกครอง (ปลัดอาวุโส) อ.ท่าสองยาง สั่งการให้ อส.อ.ท่าสองยาง ลงพื้นที่พักพิงชั่วคราวบ้านแม่หละ โดยให้สมาชิก อส. ปฏิบัติหน้าที่ร่วมกับผู้นำ Section และ รักษาความปลอดภัย(รปภ.)ในพื้นที่

รัฐบาลเมียนมา ระดมทหารนับหมื่นป้องกันเมืองหลวง

Loading

สำนักข่าวอิรวดี รายงานโดยอ้างแหล่งข่าวภายในรัฐบาลและกองทัพเมียนมา ระบุว่า ขณะนี้รัฐบาลทหารได้เริ่มกระบวนการเรียกกำลังทหารจากภูมิภาคอื่น ๆ เข้ามาประจำการตามฐานที่มั่นต่าง ๆ ในกรุงเนปิดอว์และจังหวัดโดยรอบ โดยรัฐบาลทหารเมียนมา มีแผนจะระดมกำลังพลประมาณ 10,000 นาย จาก 3 ภูมิภาคหลัก ประกอบด้วยมันฑะเลย์ พะโค และย่างกุ้ง

ความเคลื่อนไหวใหม่ในพม่า กับโอกาสยุติสงครามกลางเมือง

Loading

  รัฐบาลใหม่ของประเทศไทยจะต้องเจอกับประเด็นเรื่องพม่าที่ต่อเนื่องมาจากรัฐบาลประยุทธ์ที่ผ่านมา   จึงจำเป็นจะต้องวิเคราะห์สถานการณ์ให้แม่นว่าเราจะทำหน้าที่ประสานระหว่างอาเซียนกับผู้นำกองทัพพม่าและฝ่ายเรียกร้องประชาธิปไตยในพม่าอย่างไรจึงจะสามารถช่วยให้เกิดสันติภาพและความสงบสุขให้กับเพื่อนบ้านทางตะวันตกแห่งนี้ได้   คำประกาศของกองทัพพม่าเมื่อสัปดาห์ก่อนที่จะผ่อนผันโทษของอองซาน ซูจีลงจาก 19 ข้อหาเหลือ 14 ข้อหา   และลดโทษจากจำคุก 33 ปีเหลือ 27 ปีนั้นเป็นท่าทีที่จริงจังของพลเอกอาวุโสมิน อ่อง หล่ายที่จะริเริ่มกระบวนการเจรจากับ “ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย” ในพม่าจริงหรือไม่   อาเซียนจะประชุมสุดยอดในเดือนกันยายนที่จะถึงนี้   เชื่อกันว่าจะมีการ “ทบทวน” เนื้อหาของฉันทามติ 5 ข้อของอาเซียนว่าด้วยวิกฤตพม่าเพื่อให้สอดคล้องกับ “ความเป็นจริงบนภาคพื้นดิน”   อาจจะหมายความว่าอาเซียนพร้อมจะลดความเข้มข้นของมาตรการที่จะไม่ร่วมสังฆกรรมกับระดับนำของพม่าจนกว่าจะมีความคืบหน้าในการทำตามฉันทามติ 5 ข้อนี้   หรืออาจจะนำไปสู่การเผชิญหน้าที่หนักขึ้นหรือไม่   อาเซียนเองก็มีท่าทีที่แตกต่างกันในกรณีนี้   อินโดนีเซียซึ่งเป็นประธานหมุนเวียนอาเซียนปีนี้มีความแน่วแน่ในการที่จะกดดันให้รัฐบาลทหารพม่าต้องแสดงความคืบหน้าในการทำตาม 5 ข้อที่มิน อ่อง หล่ายไปร่วมประชุมและรับที่จะทำตาม   แต่ถึงวันนี้ก็ยังห่างไกลจากการนำมาปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม   อินโดฯ, มาเลซีย, สิงคโปร์กับฟิลิปปินส์โอนเอียงไปในทางเข้มเข้นกับทหารพม่า   ขณะที่เวียดนาม, กัมพูชา, ลาวและไทยมีท่าทีที่ผ่อนปรนมากกว่า  …