กลาโหมญี่ปุ่นออกนโยบายสนับสนุนกองทัพใช้ AI เป็นครั้งแรก

Loading

กระทรวงกลาโหมญี่ปุ่นเปิดตัวนโยบายพื้นฐานครั้งแรกเพื่อสนับสนุนการใช้งานเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) นโยบายส่งเสริมการใช้ AI ของกระทรวงกลาโหมญี่ปุ่นมุ่งเน้นไปที่จุดสำคัญทั้ง 7 ด้าน

รัฐบาลอินเดียสั่ง โมเดล AI ที่ยังอยู่ระหว่างทดสอบ ต้องขออนุญาตจากรัฐบาลก่อนให้บริการ

Loading

กระทรวงไอทีของประเทศอินเดีย ออกประกาศเกี่ยวกับการใช้งาน AI ภายในประเทศอินเดีย มีประเด็นสำคัญคือ AI ที่ยังไม่เสถียร ยังอยู่ระหว่างการทดสอบ จำเป็นต้องแปะป้ายแจ้งเตือนผู้ใช้งาน และต้องขออนุญาตจากรัฐบาลอินเดียก่อนให้บริการต่อสาธารณะ

ฟิลิปปินส์อาสาวางกรอบกฎหมายกำกับดูแล AI ให้ภูมิภาคอาเซียน

Loading

ความสามารถอันล้นเหลือของปัญญาประดิษฐ์ ทำให้หลายภาคส่วนเกิดความกังวลเกี่ยวกับการใช้งาน AI ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะด้านลิขสิทธิ์และจริยธรรม ทำให้ประเด็นการออกกฎเกณฑ์เพื่อกำกับดูแลและควบคุมการใช้งาน AI จึงถูกพูดถึงมากขึ้นเรื่อย ๆ

‘ทรู’ นำทัพ ‘รัฐ-เอกชน’ ถกประเด็นใหญ่ ‘AI’ จริยธรรม และ ‘การกำกับดูแล’

Loading

  ปัญญาประดิษฐ์หรือ AI อาจเรียกได้ว่าเป็นเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก เป็นพลังสำคัญเพื่อการพัฒนาประเทศไทยให้เจริญเติบโต แก้ไขปัญหาสาธารณสุข ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ลดช่องว่างทางการศึกษา ฯลฯ ขณะเดียวกัน การพัฒนาของ AI อย่างไม่หยุดยั้งก็นำมาซึ่ง “ความท้าทายใหม่”   ปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI อาจเรียกได้ว่าเป็นเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก เป็นพลังสำคัญเพื่อการพัฒนาประเทศไทยให้เจริญเติบโต แก้ไขปัญหาสาธารณสุข ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ลดช่องว่างทางการศึกษา ฯลฯ ขณะเดียวกัน การพัฒนาของ AI อย่างไม่หยุดยั้งก็นำมาซึ่ง “ความท้าทายใหม่” ไม่ว่าประเด็นด้านความปลอดภัย ความเป็นส่วนตัว ทักษะ และช่องว่างในขีดความสามารถทางการแข่งขัน   และเพื่อให้มั่นใจว่าการพัฒนา AI ที่เกิดขึ้นเป็นไปอย่างถูกต้อง ทรู คอร์ปอเรชั่น จึงได้จัดงานสัมมนา AI Gets Good โดยมีตัวแทนจากภาครัฐ ภาควิชาการ และภาคธุรกิจ ร่วมอภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในหัวข้อ “ทำอย่างไรให้มั่นใจว่า AI จะสร้างผลกระทบเชิงบวกต่อสังคมไทย?”     กำกับดูแล = อุปสรรคหรือส่งเสริม?…

ChatGPT:กฎหมาย AI และอนาคต (จบ)

Loading

  ความเดิมจากตอนที่แล้ว ผู้เขียนได้กล่าวถึง ChatGPT ในมุมที่อาจมีผลกระทบต่องานในปัจจุบัน โดยเน้นวิเคราะห์ในสายงานกฎหมาย ฉบับนี้จะวิเคราะห์ถึงข้อสังเกตทางกฎหมายในการใช้งาน ChatGPT และ AI   1.กฎหมายว่าด้วยปัญญาประดิษฐ์ ประเด็นแรก ธรรมาภิบาลและการประเมินความเสี่ยงจากการใช้ AI เพื่อรองรับการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพและน่าเชื่อถือ จึงควรมีการกำหนดมาตรฐานหรือกฎเกณฑ์ และการจัดการความเสี่ยงที่เหมาะสม อันจะเป็นการใช้เทคโนโลยีอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคม   ในกรณีของ ChatGPT การใช้ AI จะอยู่ในรูปแบบของแชตบอตที่สื่อสารตอบโต้และให้ข้อมูลกับผู้ใช้งาน ดังนั้น การใช้งานในลักษณะดังกล่าวอาจมากับปัญหา AI bias and discrimination ซึ่งเป็นความเสี่ยงในเรื่องข้อจำกัดและคุณภาพของข้อมูล ความน่าเชื่อถือและการให้ข้อมูลที่เป็นกลาง   เพื่อแก้ไขปัญหานี้ ควรมีแนวทางในการประเมินความเสี่ยงที่เหมาะสมในระดับองค์กร และมีการกำหนดกฎเกณฑ์หรือกฎหมายที่ควบคุมการใช้งานอย่างเหมาะสม เช่น ในสหรัฐกำหนด AI Risk Management framework (จัดทำโดย NIST)   และในสหภาพยุโรปยกร่าง AI Act ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการกำหนดแนวทางการจัดการ การประเมินความเสี่ยง และการตรวจสอบการงาน AI โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่ AI…