สหรัฐฯเสนอกฎหมายใหม่หวังสกัดข้อมูลรั่วไหลไปยังจีน-รัสเซีย-อิหร่าน

Loading

กระทรวงยุติธรรมสหรัฐฯ เสนอกฎระเบียบใหม่ในวันจันทร์ (21 ต.ค.) เพื่อปกป้องข้อมูลของรัฐบาลกลางหรือข้อมูลส่วนบุคคลจำนวนมากของชาวสหรัฐฯ ไม่ให้ตกไปอยู่ในเงื้อมมือของประเทศต่าง ๆ เช่น จีน อิหร่าน และรัสเซีย โดยกำหนดข้อจำกัดเพิ่มเติมสำหรับการทำธุรกรรมทางธุรกิจบางประเภท

QR Code หลังใบขับขี่มีไว้ทำอะไร?

Loading

      ใบขับขี่ Smart Card ที่มี QR CODE ด้านหลังบัตร สามารถแสดงข้อมูลบนแอป ใบขับขี่แบบดิจิทัล ผ่านมือถือได้ เพียงสแกน QR CODE ด้านหลังบัตรใบขับขี่ Smart card ด้วยแอปพลิเคชัน DLT QR LICENCE บนมือถือคุณ นอกจากนี้ แอปพลิเคชัน DLT QR Licence ยังฟังก์ชันสแกน QR Code ด้านหลังใบขับขี่เพื่อตรวจสอบข้อมูลส่วนบุคคล เช่น กรุ๊ปเลือด, ประวัติการแพ้ยา, โรคประจำตัว, สิทธิการรักษาพยาบาล รวมถึงข้อมูลบุคคลติดต่อฉุกเฉินได้ เพื่อเป็นประโยชน์ในกรณีประสบอุบัติเหตุ จะสามารถสแกนเพื่อเป็นข้อมูลในการช่วยเหลือบุคคลอื่นได้   นายพีระพล ถาวรสุภเจริญ อธิบดีกรมการขนส่งทางบก เปิดเผยว่า กรมการขนส่งทางบก พัฒนารูปแบบการออกใบอนุญาตขับรถแบบบัตรพลาสติก (Smart card) รูปแบบใหม่ ที่มีระบบตรวจสอบข้อมูลด้วยคิวอาร์โค้ด (QR Code) อยู่ด้านหลังบัตร…

บัญชีกลางยัน! ข้อมูลแก๊ง Call Center ไม่ตรงกับฐานข้อมูลกรม

Loading

กรมบัญชีกลางยัน! ข้อมูลแก๊ง Call Center ไม่ตรงกับฐานข้อมูลกรมบัญชีกลาง ย้ำ! ไม่มีนโยบายติดต่อหาข้าราชการ ผู้รับบำนาญ หรือทายาท ผ่านทางโทรศัพท์ หรือไลน์

เทียบมาตรการรัฐ VS เอกชน บล็อกมิจฉาชีพยุค AI กับคำถาม ทำไมมิจฉาชีพไม่หมดไป

Loading

การส่ง SMS คือช่องทางที่มิจฉาชีพใช้ AI ในการหลอกลวงประชาชนให้กดลิงก์ เป็นอันดับ 1 ควบคู่กับการใช้เบอร์โทรศัพท์มือถือหลอกลวง โดยส่วนใหญ่มิจฉาชีพต้องการขโมยข้อมูลมากที่สุด โดย 53% เหยื่อมักสูญเงินให้มิจฉาชีพภายในไม่เกิน 24 ชั่วโมง

มช. ออกเอกเอกสารชี้แจง กรณีพบข้อมูลผู้ป่วยรั่วไหล เผยตรวจสอบเบื้องต้นแล้ว

Loading

มช. ออกเอกเอกสารชี้แจง พบข้อมูลผู้ป่วยรั่วไหล จากอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลภายในคอมพิวเตอร์ ที่ถูกจำหน่ายในการประมูล เผยตรวจสอบเบื้องต้นแล้ว

การเพิ่มขึ้นของความเสี่ยงจากการฉ้อโกงข้อมูลไบโอเมตริกซ์ และผลกระทบต่อสถาบันการเงิน

Loading

  การบริหารความเสี่ยงทางไซเบอร์ต้องเน้นการตรวจสอบความปลอดภัยของผู้ให้บริการบุคคลที่สามอย่างเคร่งครัด ควรประเมินการตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบไบโอเมตริกซ์ตามมาตรฐาน ISO 27001, NIST และการรับรอง SOC 2 Type 2 การใช้เครื่องมือตรวจสอบช่วยในการติดตามกิจกรรมของผู้ให้บริการอย่างต่อเนื่องและตั้งค่าการควบคุมการเข้าถึงข้อมูลอย่างเข้มงวดจะช่วยลดความเสี่ยงในการละเมิดข้อมูล   จากการคาดการณ์ของ Deloitte Center for Financial Services ภายในปี 2570 การฉ้อโกงข้อมูลไบโอเมตริกซ์สังเคราะห์จะก่อให้เกิดความสูญเสียมากกว่า 40 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เทคโนโลยีอย่าง Deepfake ถูกนำมาใช้เพื่อสร้างข้อมูลไบโอเมตริกซ์สังเคราะห์ที่มีความสมจริงและน่าเชื่อถือมากขึ้น โดยใช้ข้อมูลส่วนบุคคลที่ถูกขโมยจากเว็บมืดหรือสร้างขึ้นใหม่ การพัฒนาของ Generative AI ยังเพิ่มความเสี่ยงจาก Deepfake ให้รุนแรงขึ้น รายงานของ World Economic Forum (WEF) ในปี 2566 ระบุว่าเหตุการณ์ Deepfake ที่เกี่ยวข้องกับฟินเทคเพิ่มขึ้น 700% เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า และคาดว่าในปี 2569 เนื้อหาออนไลน์มากถึง 90% อาจถูกสร้างขึ้นด้วยเทคโนโลยีสังเคราะห์   ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก รวมถึงประเทศไทย การจัดการกับการฉ้อโกงข้อมูลไบโอเมตริกซ์กลายเป็นประเด็นเร่งด่วน…