กำเนิด “เครื่องจับเท็จ” ยุคมนุษย์ยังพยายามหาวิธีจับโกหก และช่วยสอบสวนคดีความ

Loading

  กำเนิด “เครื่องจับเท็จ” ยุคมนุษย์ยังพยายามหาวิธีจับ “โกหก” และช่วยสอบสวนคดีความ   “การโกหก” เป็นสิ่งที่ทำให้เห็นถึงนิสัยของมนุษย์อย่างหนึ่ง คือ ช่างเรียนรู้และช่างปรับตัว เมื่อใดก็ตามที่โกหก เราสามารถสังเกตโดยวิธีง่าย ๆ ด้วยการสังเกตสีหน้าและกิริยาท่าทาง หากพยายามจะปกปิดความจริง จะมีอาการหัวใจเต้นแรงหรือเลือดลมสูบฉีด อาการเหล่านี้เกิดจากความกลัวที่อาจถูกจับเท็จได้   หากแม้โกหกสำเร็จไปแล้วโดยเข้าใจว่าไม่มีผู้ใดทราบว่าตนพูดเท็จ ก็อาจจะหายใจแรงอย่างโล่งอก แต่ถ้าถูกจับเท็จได้ก็อาจรู้สึกร้อนหน้า กัดริมฝีปาก หลบสายตา พูดเสียงอ่อย หรือฝืนหัวเราะ ตลอดจนเคลื่อนไหวมือหรือเท้าที่มีลักษณะแสดงความไม่สบายใจ   มนุษย์ (ที่ชอบโกหก) เมื่อทราบว่ากิริยาอาการเหล่านั้น เป็นอาการ “เลิ่กลั่ก” จนทำให้ “โป๊ะแตก” เขาก็เรียนรู้และปรับตัว พยายามควบคุมสติ ควบคุมร่างกาย เพื่อปิดบังอาการเหล่านั้น และเมื่อไม่สามารถจับเท็จด้วยวิธีการดังนี้ได้แล้ว มนุษย์ก็เรียนรู้ได้ว่าจะต้องหากลวิธีใหม่มาจับเท็จ นั่นจึงนำไปสู่การสร้าง “เครื่องจับเท็จ” (Lie-Detector)   ตั้งแต่โบราณกาล มนุษย์ได้ใช้วิธีการต่าง ๆ เพื่อพิสูจนผู้ต้องสงสัยว่าใคร “โกหก” ใครเป็นผู้กระทําความผิด หรือเป็นผู้บริสุทธิ์   ตุลาการจีนเคยใช้ “สรีรวิทยา”…

‘อูเบอร์’ ถูกปรับ 290 ล้านยูโร!

Loading

ประเด็นการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลเป็นเรื่องที่ในต่างประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งในสหภาพยุโรปให้ความสำคัญมาก โดยมีการกำหนดข้อบังคับ GDPR

ชาวฝรั่งเศสนับแสนประท้วง “มาครง” ตั้งนายกฯคนใหม่

Loading

ชาวฝรั่งเศสกว่า 100,000 คนทั่วประเทศ เดินประท้วงการที่ประธานาธิบดีเอ็มมานูเอล มาครง แต่งตั้งนายมิเชล บาร์นิเยร์ นักการเมืองสายกลางขวา ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนใหม่

เปิดโปงความลึกลับเบื้องหลังการ์ตูนต่อต้านเซเลนสกี

Loading

สื่อของรัฐบาลรัสเซียระบุว่าผู้สร้างการ์ตูนชาวฝรั่งเศสอยู่เบื้องหลังซีรีส์การ์ตูนต่อต้านประธานาธิบดีโวโลดีมีร์ เซเลนสกี ของยูเครน ที่กำลังเป็นไวรัลอยู่ตอนนี้ พวกเขาอ้างว่าความช่วยเหลือทางทหารสำหรับยูเครนทำให้ชาวยุโรปยากจนลง แต่หลักฐานที่บีบีซีค้นพบกลับชี้ว่าการ์ตูนเหล่านี้มีแนวโน้มที่จะมาจากฝีมือของรัสเซียมากกว่า

รัสเซีย จับชายชาวฝรั่งเศส จารกรรมข้อมูลลับ ฝรั่งเศส ยืนยัน ไม่ใช่คนของรัฐบาล เตือนปชช.ในรัสเซียให้ระวังตัว

Loading

ประธานาธิบดีเอ็มมานูเอล มาครงของฝรั่งเศส เปิดเผยว่า ชายชาวฝรั่งเศส คนหนึ่งถูกจับกุมในกรุงมอสโก ของรัสเซีย เมื่อวานนี้(6 มิ.ย.67)ในข้อหารวบรวมข่าวกรองทางทหารของรัสเซีย

กบฏคืออะไรในทัศนะ ‘อัลแบรต์ กามูส์’

Loading

  อัลแบรต์ กามูส์ (ปี 2456-2503) เป็นนักเขียนนวนิยาย บทละครและความเรียงเชิงปรัชญาชาวฝรั่งเศส เกิดและเติบโตในอาณานิคมแอลจีเรีย (แอฟริกา) ของฝรั่งเศส   คนไทยแปลและพิมพ์วรรณกรรมของเขาออกมาหลายเล่ม และขายได้ค่อนข้างดีด้วย นวนิยายที่เด่นที่สุดคือ เรื่อง คนนอก หรือ คนแปลกหน้า ที่มีผู้แปลเป็นไทยไว้ 2 สำนวน   มูลนิธิหนังสือเพื่อสังคมแปลและพิมพ์งานของกามูส์หลายเล่ม เช่น คนแปลกหน้า และ ผู้ตกต่ำ (นวนิยาย) ผู้เที่ยงธรรม (บทละคร) และ เทพตำนานซีซีฟ (ความเรียง)   นอกจากเป็นนักเขียนนวนิยายผู้มีชื่อเสียง ได้รับรางวัลโนเบลตั้งแต่วัยหนุ่มแล้ว กามูส์ยังมีแง่คิดจากปรัชญาชีวิตและสังคมที่น่าสนใจ แนวคิดของกามูส์มีความกว้างขวาง ซับซ้อน มากกว่าน่าจะประทับตราว่าเขามีปรัชญาแบบไหน (กามูส์ปฏิเสธที่จะถูกประทับตราว่าเป็นพวกปรัชญา Existentialism มนุษย์เป็นอิสรชนที่มีเจตจำนงเสรีในการตัดสินใจเองและต้องรับผิดชอบต่อการกระทำของตนเอง) แม้ว่าแนวคิดในนวนิยายของเขามีแนวโน้มไปในทางนั้น   รูปจาก: คนบ้าหนังสือ – Madman Books   กามูส์เรียนมาทางปรัชญาและอ่านหนังสือมาก ได้รับอิทธิพลจากนักปรัชญาตั้งแต่ยุคกรีกโรมันโบราณ (เช่น ปรัชญาสโตอิก)…