แฮ็กเกอร์เกาหลีเหนือขโมยคริปโตฯ กว่าแสนล้าน ตลอด 6 ปีที่ผ่านมา มากกว่ามูลค่าส่งออกของประเทศ 10 เท่า

Loading

บริษัทด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ Recorded Future รายงานข้อมูลของกลุ่มแฮ็กเกอร์ที่มีความเชื่อมโยงกับเกาหลีเหนือ ‘Lazarus Group’ ที่ทำการขโมยคริปโตฯ มูลค่ากว่า 3 พันล้านดอลลาร์ ตลอด 6 ปีที่ผ่านมา นับตั้งแต่ปี 2017 โดยข้อมูลเผยให้เห็นว่าในปี 2022 เพียงปีเดียว แฮ็กเกอร์กลุ่มนี้ปล้นคริปโตฯ ไปแล้วเป็นมูลค่ากว่า 1.7 พันล้านดอลลาร์

คุยกันเรื่อง Data Center

Loading

โดยที่แทบไม่มีใครรู้เรื่องดิจิทัลนั้นอย่างลึกซึ้ง ถกเถียงกันเรื่องบล็อกเชนในสภากาแฟว่าเอาไปแจกเงินดีหรือไม่อย่างไร โดยสมาชิกที่ยังไม่รู้เรื่องการจัดการข้อมูลแม้แต่น้อยนิด ก็มีให้เห็นกัน

‘Super App’ คืออะไร เตรียมเปิด ดาวน์โหลด ‘ลงทะเบียนเงินดิจิทัล 10,000’

Loading

ความชัดเจนล่าสุด สำหรับ “เงินดิจิทัล 10,000” มีความคืบหน้าออกมาว่า กำลังพัฒนา “Super App” ผ่านเทคโนโลยีบล็อกเชน (Blockchain) เพื่อให้ประชาชนที่มีสิทธิ สามารถดาวน์โหลดผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ ทั้งระบบ iOS และ แอนดรอยด์ Super App คืออะไร มีการทำงานแบบไหน ทำไม ทั้งที่มีแอป “เป๋าตัง” อยู่แล้ว ไปหาคำตอบกัน

บล็อกเชนคืออะไร? ตรงนี้มีคำตอบ

Loading

การเงิน และบล็อกเชนมีความเกี่ยวข้องกัน เนื่องจากเทคโนโลยีบล็อกเชนถูกนำมาใช้เพื่อทำให้ธุรกรรมทางการเงินมีความปลอดภัย โปร่งใส และมีประสิทธิภาพมากขึ้น มันเหมือนกับบัญชีแยกประเภทดิจิทัลที่รับประกันความน่าเชื่อถือของกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเงิน

Reuters ร่วมมือ Canon สาธิตการยืนยันภาพข่าวจริง เซ็นลายเซ็นทันทีที่บันทึกภาพ ส่งข้อมูลขึ้นบล็อคเชน

Loading

สำนักข่าว Reuters ร่วมมือกับ Canon ผู้ผลิตกล้อง ภายใต้กลุ่ม Content Authenticity Initiative (CAI) ที่ส่งเสริมความน่าเชื่อถือของภาพข่าว สาธิตระบบยืนยันภาพถ่ายว่าถ่ายโดยไม่มีการดัดแปลงจริง

มทร.สุวรรณภูมิ ใช้บล็อกเชนพัฒนา “ระบบลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์

Loading

  การลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Signature) ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญในการพิสูจน์และยืนยันตัวตนของผู้ลงนามในเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ที่ส่งผ่านออนไลน์ ซึ่งลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ มีหลายรูปแบบ   ปฏิเสธไม่ได้ว่า … สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ในช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมา ได้กลายเป็นตัวเร่งให้องค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เปลี่ยนผ่านการทำงานสู่ “ดิจิทัล” กันมากขึ้น ซึ่งเชื่อว่าปัจจุบันหลาย ๆ หน่วยงานมี “ระบบบริหารจัดการเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์” สำหรับใช้งานเรียบร้อยแล้ว   แต่..ทำไมบางหน่วยงานยังคงใช้วิธี “ลงลายมือชื่อหรือเซ็นเอกสาร” ในข้อมูลที่เป็นกระดาษอยู่ดี สาเหตุสำคัญมาจากความไม่เชื่อถือข้อมูลที่อยู่บนระบบบริหารจัดการเอกสาร โดยเฉพาะการลงนามที่มีผลผูกพันทางกฎหมาย ซึ่งแม้จะมีการลงนามไปแล้ว ผู้ดูแลระบบก็ยังสามารถที่จะเปลี่ยนแปลงข้อมูลย้อนหลังได้ตลอดเวลา   พ.ร.บ.ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ จัดหมวดหมู่ของลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็น 2 กลุ่มหลักคือ   1.ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ทั่วไป เช่น การส่งข้อมูลตอบกลับทางอีเมล หรือการวางรูปลายเซ็นไว้บนเอกสาร เป็นต้น และ   2.ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เชื่อถือได้ ซึ่งจะใช้กระบวนการเข้ารหัสทางคอมพิวเตอร์ (Digital Signature) เพื่อใช้ตรวจสอบและผูกมัดผลทางกฎหมายให้แน่นยิ่งขึ้น   ปัจจุบัน ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เชื่อถือได้ จะมีโซลูชั่นในการให้บริการจากผู้ให้บริการออกใบรับรอง…