เปิดเส้นทางมรณะ ‘Dunki Route’ ชาวอินเดียนับหมื่น แห่ลอบเข้าอเมริกา-ยุโรป เสี่ยงตายเพื่อฝัน

Loading

      ตามข้อมูลของกระทรวงการต่างประเทศอินเดีย ณ เดือนพฤษภาคม 2024 จำนวนชาวอินเดียโพ้นทะเลทั่วโลกอยู่ที่ประมาณ 35.42 ล้านคน คิดเป็น 2.53% ของจำนวนพลเมืองอินเดียทั้งประเทศราว 1,400ล้านคน โดย 10 ประเทศที่มีชาวอินเดียอาศัยอยู่มากที่สุดไล่เรียงจากมากไปหาน้อยได้แก่ สหรัฐฯ สหรัฐอาหรับฯ มาเลเซีย แคนาดา ซาอุดิอาระเบีย เมียนมา สหราชอาณาจักร แอฟริกาใต้ ศรีลังกา และคูเวต ซึ่งเป็นการนับรวมทั้งผู้ที่ยังคงถือสัญชาติอินเดียและผู้ที่มีเชื้อชาติอินเดียแต่ไม่ได้ถือสัญชาติอินเดียแล้ว     ตัวเลขดังกล่าว น่าจะไม่ได้นับรวมชาวอินเดียที่ลักลอบเข้าประเทศเหล่านี้อย่างผิดกฎหมายอีกจำนวนมาก ซึ่งชาวอินเดียเหล่านั้นได้ลักลอบเข้าประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศตะวันตกด้วยเส้นทางที่เรียกว่า ‘Dunki route’ แปลได้ว่า ‘ทางลาเดิน’ คำนี้มีที่มาจากสำนวนภาษาปัญจาบ ‘Dunki’ นอกจากแปลว่า ‘ลา’ แล้วยังแปลว่า “กระโดดจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง” เป็นชื่อเรียกเส้นทางที่ที่เด็ก ๆ หนุ่มสาว จากแคว้น Punjab, Haryana และ Gujarat เป็นเส้นทางผิดกฎหมายที่ผู้คนจำนวนมากใช้เพื่อข้ามพรมแดนออกจากอินเดียไปยังประเทศต่าง ๆ…

เสนอปิดท่าข้ามบริเวณไทยมาเลย์สกัดปัญหาชายแดนใต้

Loading

ที่ประชุมได้หารือในส่วนของภารกิจความมั่นคง โดยได้เน้นยุทธศาสตร์ 3 ข้อ ที่เสนอโดย พล.ท.ไพศาล หนูสังข์ แม่ทัพภาคที่ 4 ทั้งสลายกลุ่มผู้ก่อเหตุรุนแรง เสริมสร้างประสิทธิภาพการทำงานภาครัฐ และแก้ไขปัญหารากเหง้าในพื้นที่ชายแดนใต้นอกจากนี้ยังมีข้อเสนอเชิงรุก ให้ยกเลิกการใช้ช่องทางผ่านแดนธรรมชาติผิดกฎหมาย หรือ “ท่าข้าม” บริเวณชายแดนไทย-มาเลเซียทั้งหมด

มาเลเซียเปิดตัวแชตบอตเอไอ ‘ไอฟา’ ยกระดับปราบปรามเฟคนิวส์

Loading

นายฟาห์มี ฟัดซิล รมว.การสื่อสารของมาเลเซีย เปิดเผยว่า ผู้ใช้งานโซเชียลมีเดียในประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่เป็น “วอตส์แอปป์” สามารถใช้แชตบอตปัญญาประดิษฐ์ (เอไอ) ตัวใหม่ของรัฐบาล เพื่อร่วมกันยับยั้งการแพร่กระจายของข่าวปลอมในประเทศ

มาเลเซียเปิดสำนักงานปัญญาประดิษฐ์แห่งชาติ หวังขึ้นแท่นฮับ AI ในเอเชีย

Loading

มาเลเซียประกาศเปิดสำนักงานปัญญาประดิษฐ์ (AI) แห่งชาติในวันนี้ (12 ธ.ค.) โดยมีเป้าหมายในการกำหนดนโยบายและจัดการปัญหาด้านกฎระเบียบ เพื่อสร้างประเทศให้เป็นศูนย์กลางการพัฒนาด้าน AI ในภูมิภาคเอเชีย

สภามาเลเซียไฟเขียวกฎหมายให้อำนาจรัฐขยายการควบคุมอินเทอร์เน็ต

Loading

สมาชิกสภานิติบัญญัติของมาเลเซียเห็นชอบกฎหมายให้รัฐบาลสามารถควบคุมอินเทอร์เน็ตได้มากขึ้น แม้มีการวิพากษ์วิจารณ์ว่า กฎหมายนี้อาจจำกัดเสรีภาพในการพูดและขัดขวางการแสดงความคิดเห็นที่แตกต่างของประชาชน

ภัยไซเบอร์ยังน่ากลัว!ชี้ธุรกิจไทยโดนคุกคามทางเว็บ 5,811 รายการต่อวัน

Loading

    “แคสเปอร์สกี้” ชี้ธุรกิจไทยโดนภัยคุกคามทางเว็บเฉลี่ย 5,811 รายการต่อวัน! เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มากกว่า 1.4 แสนต่อวัน   นายเซียง เทียง โยว ผู้จัดการทั่วไปประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แคสเปอร์สกี้ กล่าวว่า ธุรกิจต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เผชิญกับภัยคุกคามทางเว็บ (web threat) หรือภัยคุกคามที่เกิดจากอินเทอร์เน็ต (internet-born threat) เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเศรษฐกิจดิจิทัลที่กำลังเติบโตอย่างรวดเร็ว ทำให้ภูมิภาคนี้กลายเป็นทั้งศูนย์กลางการเติบโตและเป้าหมายของอาชญากรไซเบอร์   โดยในช่วงครึ่งแรกของปี 2024 โซลูชันความปลอดภัยสำหรับธุรกิจของแคสเปอร์สกี้ตรวจพบและบล็อกภัยคุกคามทางเว็บในภูมิภาคมากกว่า 26 ล้านรายการ โดยเฉลี่ยแล้วนับเป็นความพยายามโจมตีทางเว็บ 146,944 รายการต่อวัน ประเทศไทยพบความพยายามโจมตีทางเว็บทั้งหมด 1,057,732 รายการ คิดเป็นจำนวนเฉลี่ย 5,811 รายการต่อวัน   ภัยคุกคามทางเว็บหรือภัยคุกคามออนไลน์เป็นความเสี่ยงด้านความปลอดภัยไซเบอร์ที่อาจทำให้เกิดเหตุการณ์หรือการกระทำที่ไม่พึงประสงค์ผ่านอินเทอร์เน็ต ภัยคุกคามทางเว็บเกิดจากช่องโหว่ของผู้ใช้ ผู้พัฒนา ผู้ดำเนินการบริการเว็บ รวมถึงตัวบริการเว็บเอง ไม่ว่าจะมีเจตนาหรือสาเหตุใด ภัยคุกคามทางเว็บอาจสร้างความเสียหายให้กับทั้งบุคคลและองค์กร     บริษัทและองค์กรธุรกิจในมาเลเซียอยู่ในอันดับสูงสุดในกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เผชิญกับภัยคุกคามทางเว็บ 19,615,255 รายการ…